Page 395 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 395
เครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน น�้าปั่น น�้าอัดลม ชาไข่มุก กาแฟ (3.76±1.128) ตาม
ล�าดับ ส่วนอาหารที่รับประทานน้อยที่สุด คือ อาหารต้มไม่ใส่กะทิ (2.72±0.843)
รองลงมาคือ อาหารปิ้งย่าง (2.96±1.2) และอาหารถุงๆ จากร้านข้าวแกง
(3.04±1.02) ตามล�าดับ
ส่วนระยะหลังท�ากิจกรรมความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ เยาวชน
มีความรู้ด้านการบริโภคเปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการจัดล�าดับอาหารที่ดีต่อ
สุขภาพ คือ ผลไม้ตามฤดูกาล (4.56±0.768) ตามด้วย อาหารย�าๆ รสจัด
(4.32±1.215) และอาหารน�้าพริก ผักจิ้ม (4.32±0.9) ส่วนอาหารที่เยาวชนเห็นว่า
ไม่ดีต่อสุขภาพที่สุดคืออาหารทอดทุกชนิด (3.32±0.85245) ตามด้วยแกงกะทิทุก
ชนิด (3.375±0.82423) และอาหารส�าเร็จรูปเช่น มาม่า ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง
(3.4±0.91287)
ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการร่วม
กิจกรรมปฏิบัติการด้านพฤติกรรมบริโภคอาหารทั่วไป การบริโภคอาหารที่ชอบ
และความรู้/ตระหนักรู้เกี่ยวกับการบริโภคต่อสุขภาพในเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึก
และอบรมเด็กและเยาวชนมุทิตา (N = 25 คน)
พฤติกรรม ก่อนทดลอง หลังทดลอง
การบริโภคอาหาร N Mean(SD.) N Mean(SD.) t p-value
(คะแนนรวม)
อาหารรับประทานบ่อย 25 2.7771±0.31899 25 3.3923±0.3427 -9.844 .000
อาหารที่ชอบ 25 2.6231±0.31259 25 3.1525±0.46455 -6.504 .000
ความรู้/ตระหนักรู้เกี่ยว 25 3.3108±0.69631 25 4.2714±0.86897 -5.386 .000
กับพฤติกรรมบริโภคต่อ
สุขภาพ
Significance, p < .05
394 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research