Page 396 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 396
จากตารางที่ 7 สรุปว่า การเปรียบเทียบทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารทั่วไป
ความชอบเกี่ยวกับอาหารที่ชอบ และความรู้หรือความตระหนักเกี่ยวกับพฤติกรรม
บริโภคอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ พบว่าหลังร่วมกิจกรรมความรู้เรื่องการทานอาหาร
เพื่อสุขภาพ เด็กและเยาวชนมีการเปลี่ยนแปลงทุกหมวดในทางที่ดีขึ้นอย่างมีนัย
ส�าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05
พฤติกรรมออกก�าลังกายและกิจกรรมทางกาย
1. พฤติกรรมออกก�าลังกายและกิจกรรมทางกาย
ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุดและต�่าสุด และเปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังกิจกรรมปฏิบัติของเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกมุทิตา
(N = 25 คน)
ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
(N = 25) (N = 25)
ข้อ ประเด็น
Mean± SD. Min-Max Mean± SD. Min-Max
1. ฉันออกก�าลังกายด้วยการเล่นกีฬา 3.04±0.841 2-4 3.24±0.831 1-4
ที่ชอบ ตามสภาพร่างกายของฉัน
อย่างสม�่าเสมอ
2. ฉันเล่นกีฬา หรือออกก�าลังกาย 2.92±0.862 1-4 3.08±0.862 1-4
หรือเคลื่อนไหวต่อเนื่องจนรู้สึก
เหนื่อย มีเหงื่อออกอย่างน้อยวันละ
30 นาที
3. ฉันนั่งอยู่กับที่ ไม่ขยับตัว 1.88±0.881 1-4 4±0.76376 2-5
ไม่เคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเล่น
เกมส์ แชท ออนไลน์ นานกว่า
8 ชั่วโมงต่อวัน
4. ฉันท�างานบ้านที่ต้องออกแรง เช่น 2.4±0.816 1-4 2.96±0.889 1-4
กวาดถูบ้าน ปลูกต้นไม้ ล้างรถ
ซักผ้า รีดผ้าทุกวัน
5. ฉันเดินไปเดินมา เคลื่อนไหว 2.16±0.898 1-4 3.08±0.702 1-4
ตัวเองบ่อยๆ เวลาที่ตื่นอยู่
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 395
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research