Page 401 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 401
ตารางที่ 10 สรุปว่าสมรรถภาพร่างกายของเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกและ
อบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลัง
กิจกรรมปฏิบัติการด้านการออกก�าลังกายและกิจกรรมทางกายพบว่า สมรรถภาพ
ทางกายเพิ่มขึ้นในทุกท่าทดสอบสมรรถภาพทางกาย อย่างไรก็ตามสมรรถภาพทาง
กายแบบรายท่าทดสอบมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใน 2
ท่าทดสอบได้แก่ 1) วิ่งเร็ว 50 เมตร (13.41±26.63) ดึงข้อ/งอแขนห้อยตัว
10.36±7.25) ส่วนผลคะแนนรวมสมรรถภาพร่างกายก็พบความแตกต่างอย่างมีนัย
ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 21.28±5.47 ตามล�าดับ
4.4 ความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/อารมณ์
ตารางที่ 11 คะแนนรวม ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของ
ความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/อารมณ์ในเด็กและเยาวชน ศูนย์
ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนมุทิตา (N = 25คน)
ความเครียด/อารมณ์/ ก่อนทดลอง หลังทดลอง
การจัดการความเครียด t p-value
และอารมณ์ Min-Max Mean± Min-Max Mean±
(คะแนนรวม) (SD.) (SD.)
ความตระหนักรู้ 1.76-3.48 2.70±0.34 2.33-3.81 3.36±0.36 ไม่มี ไม่มีข้อมูล
ความเครียด (21 ข้อ) ข้อมูล
ความแข็งแกร่งในชีวิต 2.08-3.08 2.53±0.30 2-2.92 2.39±0.22 1.81 0.09
(12 ข้อ)
ความทนทานทางอารมณ์ 1.33-3.67 2.34±0.62 1-4 3.12±0.69 0.38 0.001
(6 ข้อ)
Significance, p < .05
ตารางที่ 11 สรุปว่าความตระหนักรู้ความเครียด ความแข็งแกร่งในชีวิต
และความทนทานทางอารมณ์ของเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชนชายบ้านมุทิตา เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังกิจกรรมปฏิบัติการ
ด้านความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/อารมณ์พบว่าคะแนนดีขึ้นใน
400 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research