Page 406 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 406
ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ (N = หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
ข้อ ประเด็น 25) (N = 25)
Mean± SD. Min-Max Mean± SD. Min-Max
4. หาทางออกได้ในลักษณะที่สังคม 2.33±0.87 1-4 3.16±0.85 1-4
ทั่วไปยอมรับ และไม่ผิดจริยธรรม
5. อดทนต่อแรงกดดัน หรือความ 2.63±0.97 1-4 3.28±0.84 1-4
คาดหวังของตนเอง หรือของ
สมาชิกในครอบครัว เพื่อน หรือ
บุคคลรอบข้างได้
6. เผชิญหน้าได้ โดยไม่พึ่งพายาสูบ 2.21±1.14 0-4 3.24±1.01 1-4
บุหรี่ สุรา หรือยาเสพติด
รวม 2.34±0.61 1.33-3.67 3.11±0.69 1-4
จากตารางที่ 14 สรุปว่าความทนทานทางอารมณ์ของเด็กและเยาวชน
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อน
และหลังกิจกรรมปฏิบัติการด้านความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/
อารมณ์พบว่าคะแนนดีขึ้นในทุกหัวข้อประเมิน และผลคะแนนรวมความทนทาน
ทางอารมณ์ (t = 0.38, p = 0.001) พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05 ตามล�าดับ
พฤติกรรมการเลิกบุหรี่และการจัดการสิ่งแวดล้อมบุหรี่
ตารางที่ 15 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด จ�านวนของประวัติการ
สูบบุหรี่เพื่อการบ�าบัดของศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนมุทิตา (N = 25 คน)
ตัวแปร Mean± SD. Min-Max
อายุเริ่มต้นสูบบุหรี่ (ปี) 12.35±2.17 8-18
สูบบุหรี่มานาน (ปี) 3.24±2.92 0.08-9.67
จ�านวนบุหรี่สูบ/วัน (มวน) 19.25±14.98 1-50
ก่อนเข้าศูนย์ฝึกฯค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่ (บาท/วัน) 196.67±300.95 0-1000
เคยเลิกบุหรี่ได้นาน (ปี) 0.93±1.033 0-2.83
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 405
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research