Page 402 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 402
ทุกด้านของการประเมิน และผลคะแนนรวมของความตระหนักรู้ความเครียด
(3.36±0.33) ความแข็งแกร่งในชีวิต (t = 1.80, p = 0.09) ความทนทานทางอารมณ์
(t = 0.38, p = 0.001) พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตามล�าดับ
ความตระหนักรู้ความเครียด (21 ข้อ)
ตารางที่ 12 คะแนนรวม ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของความตระหนักรู้
ความเครียด ในเด็กและเยาวชน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนมุทิตา (N = 25 คน)
ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
ข้อ ประเด็น (N = 25) (N = 25)
Mean± SD. Min-Max Mean± SD. Min-Max
1. ฉันรู้สึกปวดท้อง เวลามีเรื่องผิดหวัง ไม่ 3.43±0.79 1-4 3.6±0.58 2-4
ได้อย่างใจ
2. ฉันสูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ ตั้งสติ 2.54±0.88 1-4 2.92±0.86 1-4
เวลาเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน
3. ฉันพูดจาก้าวร้าว ตอบโต้ เวลาไม่ได้ 2.92±0.93 1-4 3.28±0.74 1-4
อย่างใจ
4. ฉันใช้บุหรี่ และ/หรือเหล้า เวลามีเรื่อง 2.29±1.12 1-4 1.36±0.57 1-3
กลุ้มใจ หรือไม่สบอารมณ์
5. ฉันมีที่ปรึกษาที่ไว้วางใจได้ คอยให้ 2.5±1.06 1-4 3.44±0.71 1-4
ค�าแนะน�าเวลามีปัญหาในชีวิตประจ�าวัน
6. ฉันขว้างปาท�าลายข้าวของหรือท�าร้าย 3.38±0.82 1-4 3.56±0.92 1-4
ผู้คนใกล้ตัวเวลาโกรธ ไม่ได้อย่างใจ
7. ฉันโกรธจนลืมตัว เวลาที่มีเรื่องขัดใจกัน 2.63±1.06 1-4 3.68±0.69 1-4
ในกลุ่มเพื่อนฝูง
8. ฉันเงียบ ไม่พูดจากับใคร และเก็บตัว 2.13±1.08 1-4 3.32±0.80 1-4
เวลาผิดหวัง
9. เวลามีเรื่องทุกข์ใจ ฉันพูดคุยปรึกษากับ 2.29±0.99 1-4 3.16±0.94 1-4
เพื่อนๆ ที่สนิทกัน
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 401
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research