Page 391 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 391
ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65) หลังกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65)
ข้อ ประเด็น ค่าต�่าสุด- ค่าต�่าสุด-
ค่าเฉลี่ย ล�าดับ ค่าเฉลี่ย ล�าดับ
สูงสุด สูงสุด
12 ขนมหวานไทยฯ เช่น 3.44±1.227 2-5 6 3.44±0.86987 1-5 8
ของทอด ขนมเชื่อม
ข้าวเหนียวหน้าสังขยา
13 ขนมปัง เบเกอรี่ เค้ก 3.44±1.193 1-5 7 3.68±0.74833 2-5 3
14 เครื่องดื่มประเภทน�้า 3.96±0.978 2-5 2 3.52±1.00499 1-5 5
หวาน น�้าปั่น น�้าอัดลม
ชาไข่มุก กาแฟ
รวม 2.793±0.34398 2-3.64 2.6226±0.46295 1.43-3.71
จากตารางที่ 4 พบว่าก่อนท�ากิจกรรมความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ
เยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไป มีการรับประทานอาหาร
ส�าเร็จรูป เช่นมาม่า ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง เป็นอันดับ 1 (4.08±1.115) รองลงมา
คือ เครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน น�้าปั่น น�้าอัดลม ชาไข่มุก กาแฟ (3.34) และอาหาร
ทอดทุกชนิด (3.96±0.978) ตามล�าดับ ส่วนอาหารที่รับประทานน้อยที่สุด คือ
อาหารผัดๆ น�้ามัน (2.72±0.843) รองลงมาคือ อาหารถุงจากร้านข้าวแกง
(2.76±1.052) และ แกงกะทิทุกชนิด (2.84±0.898) ตามล�าดับ ส่วนระยะหลังท�า
กิจกรรมความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ เยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภค
เปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการจัดล�าดับประเภทพฤติกรรมการบริโภคที่บ่อยที่สุด
คือ อาหารถุงๆ จากร้านข้าวแกง (3.84±0.89815) รองลงมาคือ อาหารผัดๆ น�้ามัน
(3.7083±0.80645) และขนมปัง เบเกอรี่ เค้ก (3.68±0.74833) ตามล�าดับ
ส่วนพฤติกรรมการบริโภคที่เยาวชนบริโภคน้อยที่สุดหลังท�ากิจกรรมปฏิบัติการคือ
อาหารต้มไม่ใส่กะทิ (2.6±0.707) รองลงมา คืออาหารย�าๆ รสจัด (2.92±0.862)
และอาหารน�้าพริก ผักจิ้ม (3.16±0.943) ตามล�าดับ
390 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research