Page 64 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 64
ของเด็กและเยาวชนรายข้อเพิ่มขึ้นในทุกหัวข้อและผลคะแนนรวมพบคะแนนเพิ่มขึ้น
และมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = -12.025, p = .000) (ตารางที่ 8)
และชนิดการออกก�าลังกายส่วนใหญ่ของเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกฯเล่นฟุตซอล/
ฟุตบอลคิดเป็นร้อยละ 41.2 รองลงมาคือ เซปักตระกร้อ/ปิงปอง/ฟุตบอล คิดเป็น
ร้อยละ 31.0 และล�าดับที่สามคือ การวิ่ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 ในส่วนของความถี่
ในการออกก�าลังกายต่อครั้ง ส่วนใหญ่ออกก�าลังนาน 30 นาทีต่อครั้ง คิดเป็นร้อยละ
35.9 และรองลงมาคือนานมากกว่า 30 นาทีต่อครั้ง คิดเป็นร้อยละ 34.2 ส�าหรับ
ความถี่ในการออกก�าลังกายต่อสัปดาห์ ส่วนใหญ่เด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกฯออก
ก�าลังกายบ่อย 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 39.2 รองลงมาคือ ออกก�าลังกาย
ประจ�าทุกวัน คิดเป็นร้อยละ 31.2 และกลุ่มที่มีความถี่การออกก�าลังกายน้อยรวม
คิดเป็นร้อยละ 29.8 และกิจกรรมทางกายที่ท�าในชีวิตประจ�าวันของเด็กและเยาวชน
ศูนย์ฝึกฯพบว่า ส่วนใหญ่ รีดผ้า คิดเป็นร้อยละ 49.7 ซ่อมของใช้ในบ้าน ร้อยละ
43.8 เลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 43.2 และปลูกต้นไม้/รดน�้าต้นไม้ ร้อยละ 41.6 ตามล�าดับ
(ตารางที่ 9) การประเมินสมรรถภาพร่างกายของเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกฯ 5 แห่ง
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังกิจกรรมปฏิบัติการด้านการออกก�าลังกาย
และกิจกรรมทางกายพบว่า สมรรถภาพทางกายเพิ่มขึ้นในทุกท่าทดสอบสมรรถภาพ
ทางกาย อย่างไรก็ตามสมรรถภาพทางกายแบบรายท่าทดสอบมีความแตกต่างอย่าง
มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใน 4 ท่าทดสอบได้แก่ 1) ท่ายืนกระโดดไกล
(t = -2.23, p = .027) 2) ท่าลุก-นั่ง 30 วินาที (t = -6.10, p = .000) 3) ท่าดึงข้อ/
งอแขนห้อยตัว (t = -2.40, p = .018) และ 4) การวิ่ง 1,000 เมตร/800 เมตร
(t = 2.30, p = .024) ส่วนผลคะแนนรวมสมรรถภาพร่างกายก็พบความแตกต่าง
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 49.12, p = .000) ตามล�าดับ (ตารางที่ 10)
การตระหนักรู้ความเครียดอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 3.4 (ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน = .84) ส่วนความแข็งแกร่งในชีวิต และความทนทานทางอารมณ์ ของเด็ก
และเยาวชนอยู่ในระดับปานกลาง (2.49, SD = .30; 2.64 SD=.67) ในระยะก่อนร่วม
กิจกรรมปฏิบัติการ ตามล�าดับ และการตระหนักรู้ความเครียดยังอยู่ในระดับ
ค่อนข้างสูงในระยะหลังท�ากิจกรรมปฏิบัติการ (3.16, SD = .34) ในขณะที่
ความแข็งแกร่งในชีวิต และความทนทานทางอารมณ์มีพัฒนาการดีขึ้น (2.40,
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 63
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research