Page 65 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 65

SD = .25; 3.10, SD = .73) ตามล�าดับ เมื่อเปรียบเทียบกันพบว่าหลังท�ากิจกรรม

        ปฏิบัติการทั้งการตระหนักรู้ความเครียด ความแข็งแกร่งในชีวิต และความทนทาน
        ทางอารมณ์ ดีกว่าก่อนท�ากิจกรรมปฏิบัติการอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับความ
        เชื่อมั่น .001 ดังตารางที่ 10
                เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า การจัดการความเครียดที่เด็กและเยาวชนใช้
        มากที่สุดคือพ่อแม่/เพื่อน/ครูมีค�าพูดปลอบให้ฉัน สบายใจ มีก�าลังใจเวลาเครียด
        ท้อแท้ ค่าเฉลี่ย 2.91 (SD = .92) ส่วนข้อ รู้สึกปวดท้อง เวลามีเรื่องผิดหวัง ไม่ได้

        อย่างใจ พบน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.41 (SD = .67) ดังตารางที่ 11 ความแข็งแกร่ง
        ในชีวิตที่เด็กและเยาวชนใช้มากที่สุดคือ รู้สึกว่าสามารถตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ได้
        ค่าเฉลี่ย 3.09 (SD = .64) และข้อสามารถที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆของตัวเอง
        ได้ค่าเฉลี่ย 3.09 (SD = .57) ส่วนข้อที่ใช้น้อยที่สุดคือ รู้สึกมีความสุขดีตามสมควร
        เมื่อดูโดยรวมๆ ค่าเฉลี่ย 1.55 (SD = .84) ส่วนความทนทานทางอารมณ์ที่เด็กและ
        เยาวชนใช้มากที่สุดคือ อดทนต่อแรงกดดัน หรือความคาดหวังของตนเอง หรือของ
        สมาชิกในครอบครัว เพื่อน หรือบุคคลรอบข้างได้ ค่าเฉลี่ย 2.80 (SD = .94) และ

        ข้อ ควบคุมอารมณ์ให้มั่นคง ไม่อ่อนไหว ตีโพยตีพาย เป็นข้อที่ใช้น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย
        2.44 (SD = .98) ดังตารางที่ 13
                พฤติกรรมการเลิกบุหรี่และการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ พบว่า เด็ก
        และเยาวชนเริ่มต้นสูบบุหรี่ที่อายุเฉลี่ย 12.4 ปี (SD = 2.8) สูบบุหรี่มานาน 3.9 ปี
        (SD = 2.7) เด็กที่สูบนานที่สุดคือ 13 ปี จ�านวนบุหรี่ที่สูบ 14.26 มวน/วัน

        (SD = 12.52) โดยมีตั้งแต่ไม่สูบเลย ไปจนถึงวันละ 90 มวน และมีค่าใช้จ่ายในการ
        สูบบุหรี่เฉลี่ย 90.39 บาท (SD = 114.40) และในคนที่เคยเลิกสูบบุหรี่ เลิกได้นาน
        1.35 ปี (SD = 1.71) โดยเลิกนานไม่ถึง 1 วัน ไปจนถึงนานที่สุดคือ 11 ปี  ยังพบอีก
        ว่า ยาสูบที่เด็กและเยาวชนใช้ส่วนใหญ่ใช้หลายๆ ชนิดปนๆ กัน จ�านวน 99 คน
        (52.54%) รองลงมาคือบุหรี่โรงงาน จ�านวน 53 คน (28.3%) และยาเส้น ยาฉุน
        บุหรี่มวนเอง 19 คน (10.2%) และบุหรี่ไฟฟ้า 5 คน (2.7%) เด็กและเยาวชนสูบบุหรี่
        มวนแรกหลังตื่นนอนทันที จ�านวน 91 คน (51.7%) รองลงมาคือสูบหลังอาหารเช้า

        จ�านวน 31 คน (17.6%) และสูบหลายช่วงเวลา เช่น ตื่นนอน หลังอาหาร ไปเรียน
        เป็นต้น จ�านวน 23 คน (13.9%) ในจ�านวนนี้ 42 คน (24.3%) ไม่เคยมีประสบการณ์



       64    พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70