Page 66 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 66

เลิกบุหรี่มาก่อน และครั้งนี้ยังไม่ได้ตั้งใจเลิก แต่เลิกเพราะถูกจับเข้าศูนย์ฝึกฯ

            จ�านวน 60 คน (35.3%) รองลงมาคือตั้งใจเลิกด้วยวิธีค่อยๆ ลดจ�านวนบุหรี่ที่สูบลง
            46 คน (24.6%) และตัวช่วยที่ใช้ช่วยเลิกคือ อมทอฟฟี่ (5 คน) เคี้ยวหมากฝรั่ง (7 คน)
            และครั้งนี้ยังไม่ต้องการเลิกจ�านวน 33 คน (18.5%) แต่ส่วนใหญ่ต้องการเลิก
            145 คน (81.5%) อุปสรรคส�าคัญในการเลิกของเด็กและเยาวชนกลุ่มนี้ คือ
            มีสมาชิกในบ้านสูบบุหรี่ เช่น พ่อ พี่ชาย ลุง ตา ปู่ อา แม่ สามี น้องชาย หรือมีเพื่อน
            สูบบุหรี่จ�านวน 142 คน (78%) มีเพียง 40 คน (22%) ที่ไม่มีคนรู้จัก/คนใกล้ตัว

            สูบบุหรี่
                    เหตุผลที่เลิกบุหรี่ครั้งนี้ ส่วนใหญ่เพราะเริ่มรู้สึกมีปัญหาสุขภาพ 87 คน
            (64%) รองลงมาคือ ด้านเศรษฐกิจ จ�านวน 25 คน(18.4%) และด้านครอบครัว 20 คน
            (14.7%) ตัวอย่างเหตุผลที่เลิกบุหรี่ครั้งนี้ เช่น กลัวตาย, เบื่อแล้ว, กลัวป่วยและ
            เป็นโรคมะเร็ง หรือมีความฝันอยากเป็นนักฟุตบอลอาชีพ และหลายคนเลิกเพราะ
            ถูกจับเข้ามาอยู่ในศูนย์ฝึกฯ วิธีการเลิกบุหรี่ครั้งนี้ ส่วนใหญ่ใช้หลายวิธีร่วมกัน 78 คน
            (41.7%) รองลงมาคือ หักดิบ 57คน(30.5%) และค่อยๆลดจ�านวนการสูบลง

            จ�านวน 52 คน(27.8%) สาเหตุการสูบบุหรี่ในเด็กและเยาวชนพบว่า อยากลอง
            143 คน(76.5%) รองลงมาคือสูบตามเพื่อน 127 คน(67.9%) สูบเพราะรู้สึกเบื่อเซ็ง
            122 คน(65.2%) เครียด จ�านวน 120 คน(64.2%) และมีเวลาว่างมากเกินไป
            114 คน(61%) อาการถอนนิโคตินขณะก�าลังเลิกบุหรี่ที่พบมากที่สุดคือ กระวนกระวาย
            จ�านวน 55 คน(29.4%) รองลงมาคือ อยากกลับไปสูบอีก จ�านวน 51 คน(27.3%)

            และมีหลายๆ อาการปนๆ กัน 38 คน(21.23%) เด็กและเยาวชนกลุ่มนี้ ทราบวิธีการ
            ดูแลตนเองระหว่างเลิกบุหรี่ 85 คน(45.5%) ที่เหลือคือไม่ทราบวิธีดูแลตนเอง
            วิธีการดูแลตนเองที่เลือกคือ ออกก�าลังกาย 111คน(69.4%) ดื่มน�้า จ�านวน 109 คน
            (58.3%) หลีกเลี่ยงไม่เข้าใกล้คนสูบบุหรี่ จ�านวน 103 คน(55.1%) หากิจกรรม/
            งานอดิเรกที่ชอบท�า 86คน (48%) หาคนเข้าใจรับฟังและคุยด้วย 83 คน(44.4%)
            หายใจลึกๆ ยาวๆ จ�านวน 62 คน(33.2%) เด็กและเยาวชนรับรู้ว่าพยาบาลและ
            ทีมสหวิชาชีพดูแลช่วยเหลือ จ�านวน 167 คน(89.3%) วิธีการดูแลช่วยเหลือที่ได้รับ

            มากที่สุด คือ พูดให้ก�าลังใจ จ�านวน 110 คน(58.8%) ให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัย
            ยาสูบ 93 คน(49.7%) บอกวิธีเอาชนะอาการถอนนิโคติน 85 คน (45.5%) ไว้ใจและ


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   65
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71