Page 61 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 61
๓๓. จำกข้อมูลที่ได้ ข้อใดเป็นกำรเขียนวิจำรณ์พฤติกรรมกำรกินของคนไทยได้เหมำะสมที่สุด
๑) คนไทยมีนิสัยกินหวำนมำตั้งแต่อดีต กำรกินหวำนจึงเป็นวัฒนธรรมที่ควรยกเลิก
๒) ส่วนผสมที่ชูรสขนมไทยคือน�้ำตำล ยิ่งใส่มำกขนมก็ยิ่งน่ำรับประทำนและอร่อยมำกขึ้น
๓) ควำมสะดวกในกำรหำซื้อขนมหวำน ท�ำให้กำรบริโภคขนมหวำนง่ำยและสะดวกขึ้น
๔) ขนมไทยมีควำมหลำกหลำยจึงควรควบคุมปริมำณกำรบริโภคให้เหมำะสมกับร่ำงกำย
๓. สิ่งที่ควรค�ำนึงในกำรจับใจควำมส�ำคัญ
กำรจับใจควำมส�ำคัญนั้น แม้จะมีหลักและวิธีกำรดังกล่ำวแล้ว แต่ทุกครั้งที่จับใจควำมส�ำคัญ
ควรค�ำนึงถึงประเด็นต่ำง ๆ ดังนี้ (ฐิติรัตน์ ลดำวัลย์, ๒๕๕๖, น.๕๖ - ๕๗)
๓.๑ วัตถุประสงค์
กำรจับใจควำมส�ำคัญควรวิเครำะห์ทุกครั้งว่ำ ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์อย่ำงไรในกำรส่งสำร
โดยเฉพำะกำรจับใจควำมส�ำคัญจำกกำรอ่ำนในย่อหน้ำที่ไม่ปรำกฏรูปประโยคใจควำมส�ำคัญ เพรำะจะท�ำให้
เข้ำใจสำรนั้นมำกขึ้น ท�ำให้จับใจควำมส�ำคัญได้อย่ำงถูกต้อง
๓.๒ ประเภทของสาร
กำรจับใจควำมส�ำคัญของสำรแต่ละประเภทมีควำมแตกต่ำงกัน เช่น หำกจับใจควำมส�ำคัญ
จำกข่ำว หรือบันเทิงคดีต่ำง ๆ เช่น นวนิยำย เรื่องสั้น บทละคร กำรจับใจควำมส�ำคัญจะเป็นลักษณะกำรจับใจควำมรวม
ของทั้งเรื่อง ไม่จ�ำเป็นต้องจับใจควำมทีละย่อหน้ำ หำกเนื้อหำสำระมีควำมยำวมำกก็ควรจับใจควำม
เป็นตอน ๆ แล้วจึงน�ำมำประมวลเป็นใจควำมส�ำคัญของเรื่อง
๓.๓ วิธีการเขียนของผู้เขียน
ปกติแล้วในหนึ่งย่อหน้ำจะมีใจควำมส�ำคัญประกำรเดียว แต่ผู้เขียนบำงคนอำจเขียนย่อหน้ำ
โดยมีใจควำมส�ำคัญมำกกว่ำหนึ่งข้อควำม หรือเขียนเป็นย่อหน้ำสั้น ๆ โดยแต่ละบรรทัดจะมีใจควำมส�ำคัญ
หรือไม่ก็ได้ กำรจับใจควำมส�ำคัญลักษณะนี้ควรจับใจควำมส�ำคัญรวมทั้งเรื่อง
กำรจับใจควำมส�ำคัญเป็นเรื่องที่ผู้เรียนต้องศึกษำและฝึกฝน โดยต้องเข้ำใจวิธีกำรจับใจควำมส�ำคัญ
เข้ำใจสำรที่ได้รับ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของผู้เขียน กำรจับใจควำมส�ำคัญจึงจะบรรลุผล ช่วยให้ผู้อ่ำน
เข้ำใจเนื้อหำ และควำมคิดของผู้เขียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในกำรอ่ำนขั้นสูง คือ กำรอ่ำนวิเครำะห์และตีควำมต่อไป
รายการอ้างอิง
ฐิติรัตน์ ลดำวัลย์, ม.ล. (๒๕๕๖). “กำรอ่ำนจับใจควำมส�ำคัญ,” การใช้ภาษาไทย. (พิมพ์ครั้งที่ ๕).
มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ คณะศิลปศำสตร์ ภำควิชำภำษำไทย. หน้ำ ๔๗ - ๕๘.
ดำวรัตน์ ชูทรัพย์. (๒๕๔๗). หนึ่งร้อยพันผสาน. กรุงเทพมหำนคร : บริษัท นิพลฟิล์ม จ�ำกัด.
ถนอมวงศ์ ล�้ำยอดมรรคผล. (๒๕๖๑). การอ่านให้เก่ง. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๗). นนทบุรี: ภำพพิมพ์.
รัตนำ ชำฤทธิ์. (๒๕๔๖). “มูลสถำนแห่งรำชวงศ์,” ภาษาไทยวันนี้ เล่ม ๗. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสภำ
ลำดพร้ำว, หน้ำ ๑๗๑ - ๑๗๓.
รำตรี ธันวำรชร. (๒๕๔๒). “กำรเขียนย่อหน้ำ,” การใช้ภาษาไทย ๑. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
คณะศิลปศำสตร์ ภำควิชำภำษำไทย. หน้ำ ๗๕ - ๙๕.
ส.พลำยน้อย. (๒๕๖๐). เกิดในเรือ. กรุงเทพมหำนคร : พิมพ์ค�ำ.
คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ 55