Page 66 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 66

62
                                                           62

               พอใจและมีความสุขในการเรียนในโรงเรียน (ฐิตินันท์ และ  เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ทั้งหมด 50 คน
               คณะ, 2564)  ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการ  ประกอบด้วย ครู 5 คน ผู้ปกครอง 5 คน และเรียน 40
               หาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้าน          คน
               การเกษตรโดยใช้กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม โดย           เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ
               ด าเนินการศึกษาที่โรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา อ าเภอเบญจ  แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)
               ลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากเป็นโรงเรียนที่อยู่ในเขต  มีลักษณะค าถามเป็นแบบปลายปิดและปลายเปิด แล้วน า
               พื้นที่เกษตรกรรมมีการปลูกพืชที่หลากหลาย โดยปี 2564   ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ
               มีผลผลิตทางการเกษตรรวมสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ มัน  SPSS for Windows ใช้เชิงสถิติพรรณนา ได้แก่
               ส าปะหลังโรงงาน ข้าวนาปรัง และกระเทียม ตามล าดับ   ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย
               (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564)  และผู้ปกครอง  ค่าสูงสุด และค่าต่ าสุด และการจัดกระบวนการวางแผน
               ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร จ านวน 1,278         ตามเทคนิค (AIC) น ามาวิเคราะห์เป็นแนวทางการ
               ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 88.02  (กรมการพัฒนาชุมชน,   พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านการเกษตร
               2560)  โดยมีเนื้อหาในการศึกษา ดังนี้ (1) สภาพการ
               จัดการเรียนการสอนวิชาเกษตรกรรมในโรงเรียน  (2)                ผลการวิจัยและวิจารณ์
               ความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการเรียน
               และการสอนวิชาเกษตร และ (3) แนวทางพัฒนาการจัด            ผลการศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ 1) สภาพการจัดการ
               กิจกรรมการเรียนและการสอนวิชาการเกษตรในโรงเรียน   เรียนการสอนวิชาเกษตรกรรมในโรงเรียน 2) ความคิดเห็น
               มัธยมศึกษาโดยการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิค Appreciation   ต่อการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการเรียนและการสอน
               Influence Control (AIC) เพื่อน าข้อมูลที่ได้เป็นแนวทาง  วิชาเกษตร และ 3) แนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมการ
               ในการวางแผนการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการ      เรียนและการสอนวิชาการเกษตรในโรงเรียนมัธยมศึกษา
               สอนด้านการเกษตรในโรงเรียนมัธยมศึกษาต่อไป         โดยการมีส่วนร่วม

                                วิธีการวิจัย                    1. สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาเกษตรในโรงเรียน
                                                                        การสอนหรือการจัดกิจกรรมด้านการเกษตร
                       การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน   ของโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา มีครูผู้สอนในรายวิชาของ
               (Mixed Methods Research)  ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ   กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ทั้งหมด 6 คน
               (Qualitative Research) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantit-   ได้แก่ งานอุตสาหกรรม 2 คน งานคหกรรม 1 คน งาน
               ative  research)  และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ  (Action   ธุรกิจ 2 คน และงานเกษตร 1 คน มีนักเรียนแบ่งออกเป็น
               research)  โดยใช้เทคนิค  Appreciation  Influence   2 ช่วงชั้น ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3 จ านวน 8 ห้อง
               Control (AIC) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้    จ านวนนักเรียนห้องละ 32 -35 คน  และชั้นมัธยมศึกษาปี
                       ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาการจัดการเรียนและการ   ที่ 4–6 จ านวน 4 ห้อง จ านวนนักเรียนห้องละ 32 -35 คน
               สอนวิชาเกษตร วิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง   ใช้หลักสูตรแกนกลางในการก าหนดน้ าหนักเวลาเรียน
               (Purposive Sampling) โดยก าหนดเกณฑ์ ดังนี้ กลุ่ม  ดังนี้
               ผู้บริหารสถานศึกษาอย่างเป็นทางการ ทั้งหมด 5 คน          1. มัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นรายวิชาเพิ่มเติม
               ประกอบด้วย ผู้อ านวยการ 1 คน รองผู้อ านวยการ 4 คน   วิชาการปลูกผักตามฤดูกาล จ านวน 1 หน่วยกิต เวลา
                       ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความคิดเห็นต่อการมีส่วน  เรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ 40 ชม/ภาคการศึกษา
               ร่วมการจัดกิจกรรมการเรียนและการสอนวิชาเกษตร             2. มัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นรายวิชาเพิ่มเติม
               วิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง ทั้งหมด 50 คน   วิชาการเลี้ยงปลาน้ าจืด จ านวน 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 2
               โดยก าหนดเกณฑ์ ดังนี้ ผู้อ านวยการ 1 คน รอง      ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ40 ชม/ภาคการศึกษา
               ผู้อ านวยการ 4 คน ครูวิชาการเกษตร วิชาวิทยาศาสตร์       3. มัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นรายวิชาพื้นฐาน
               เทคโนโลยี วิชาสังคมศึกษา 10 คน ผู้ปกครอง 35 คน    วิชาการงานอาชีพ จ านวน 0.5 หน่วยกิต เวลาเรียน 2
               และผู้ให้ข้อมูลสมัครใจให้ข้อมูล                  ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ 20 ชม/ภาคการศึกษา
                       ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการ
               เรียนการสอนด้านการเกษตรด้วยเทคนิค AIC วิธีการ



                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71