Page 70 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 70
66
66
ตารางที่ 4 แนวทางพัฒนาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเกษตร
ระดับการมีส่วนร่วม
ประเด็นการมีส่วนร่วม
2
1
Mean S.D. การแปลผล
1. ความพึงพอใจของชุมชนและผู้เรียนในการจัดกิจกรรม 2.02 0.55 ปานกลาง
2. มีการวิจัยในชั้นเรียน 1.28 0.45 น้อย
3. พัฒนาความรู้ ทักษะของผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี 1.64 0.48 น้อย
ขึ้นมากน้อยเพียงใด
4. ผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.48 0.50 น้อย
5. ผู้เรียนน าไปประกอบอาชีพในอนาคต 1.40 0.49 น้อย
6. ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาเกษตร 1.56 0.58 น้อย
7. มีการประเมินผลหลังการจัดกิจกรรมด้านการเกษตร 1.16 0.42 น้อย
8. ชุมชน ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นหลังการจัดกิจกรรม 1.08 0.27 น้อย
9. รับฟังปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมวิชาเกษตร 1.06 0.24 น้อย
10. มีการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน 1.06 0.24 น้อย
11. เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 1.06 0.24 น้อย
12. มีการวิเคราะห์หาข้อสรุปร่วมกัน 1.06 0.24 น้อย
13. ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วม 1.06 0.24 น้อย
ภาพรวม 1.30 0.38 น้อย
1
หมายเหตุ ค่าเฉลี่ยค านวณจากระดับการมีส่วนร่วมดังนี้ ระดับมาก = 3 ระดับกลาง = 2 ระดับน้อย = 1
2
การแปลความหมายให้เกณฑ์ ดังนี้ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 - 1.66 = มีน้อย, 1.67 - 2.33 = ปานกลาง,
2.34 - 3.00 = มาก
จากผลการศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนและชุมชนได้มี เช่น พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ปลูกข้าว กิจกรรมที่เรียนจึงเป็น
ส่วนร่วมในการก าหนดทิศทางการจัดกิจกรรรม การปลูกฝังให้ผู้เรียนท านาปลูกข้าวและมีการปลูกพืชผัก
สถานศึกษาควรมีการจัดเวทีรับฟังปัญหา ความต้องการ สวนครัวตามฤดูกาลที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น โดยผู้เรียน
ของผู้เรียนและชุมชน เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันใน มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมพื้นที่ การ
การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่ง ดูแลรักษา จนถึงขั้นตอนการเก็บเกี่ยว โดยมุ่งเน้นให้
สอดคล้องกับอภิเดช (2560) พบว่า กระบวนการพัฒนา ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน ท าให้ผู้เรียนทราบถึงความ
กิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของ เหนื่อยยากและคุณค่าของการประกอบอาชีพเกษตร สร้าง
ชุมชน เป็นแนวทางที่ดี ท าให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จาก คุณลักษณะที่ดีให้กับผู้เรียนเกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ
แหล่งเรียนรู้และวิทยากรในชุมชน สามารถเปิดโอกาสให้ การเสียสละ มีความอดทนต่อความล าบาก และเกิดทักษะ
คนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการจัด ที่จะน าไปใช้เพื่อช่วยเหลือแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง
การศึกษาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในทิศทางที่ โดยไม่ได้เน้นการวัดประเมินผลระดับเป็นผลการเรียน
ตรงกัน และเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงที่ การจัดเวลาเรียนก็มีความยืดหยุ่นตามบริบทของ
ตนเองสนใจ สถานศึกษา
ในปัจจุบันการเรียนการสอนวิชาเกษตรมี
3. แนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนและการสอน รูปแบบชัดเจนมากขึ้น มีมาตรฐานการเรียนรู้ มีตัวชี้วัด
วิชาการเกษตรในโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยการมีส่วน สาระการเรียนรู้ ซึ่งก าหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ ที่
ร่วม ด้วยเทคนิค Appreciation Influence มุ่งเน้นให้มีผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
Control (AIC) หลักสูตร วิชาเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มสาระการงานอาชีพ ซึ่ง
เนื้อหาถูกแบ่งย่อยออกไปในกลุ่มสาระที่ผู้เรียนจะต้อง
ในอดีตยังไม่มีรูปแบบเนื้อหาที่ชัดเจน การจัด เรียนร่วมกับ งานช่าง งานบ้าน งานธุรกิจ ในด้านเวลาการ
กิจกรรมเป็นลักษณะตามบริบทของชุมชนและโรงเรียน จัดกิจกรรมเป็นไปตามที่หลักสูตรก าหนดของแต่ละช่วงชั้น
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566