Page 73 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 73
68
68 69
69
ตารางที่ 6 โครงการรูปแบบการจัดกิจกรรมที่ได้รับความสนใจมากที่สุดตามล าดับคะแนน
ล าดับที่ กิจกรรม คะแนน อันดับ โครงการ เอกสารอ้างอิง มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11(1),
1. การปลูกพืชสมุนไพร 133 1 สวนสมุนไพรเพื่อการศึกษาโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา 578–596.
2. การเลี้ยงโคนม 74 2 ฟาร์มโคนมสาธิตโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา กรมการพัฒนาชุมชน. 2560. จ านวนครัวเรือนแยกตาม วัฒนะ สะดวก. 2557. การคัดสรรรูปแบบการจัดการเรียน
3. การปลูกไม้ผลที่ให้ผลผลิตตามฤดูกาล 48 3 สวนผลไม้โรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา อาชีพ. ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2565, https://- การสอนและวิธีการจัดการเรียนรู้วิชาเกษตร.
4. การเลี้ยงสัตว์เพื่อการแปรรูปส่งออก 47 4 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการแปรรูปและส่งออก ebmn.cdd.go.th/#/jpt/report. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 13(1), 180-
5. การปลูกผักสวนครัว 43 5 ผักสวนครัวโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา กระทรวงศึกษาธิการ. 2534. ความคิดสร้างสรรค์ หลักการ 187.
6. การศึกษาทฤษฎีด้านการเกษตร 42 6 การศึกษาทฤษฎีด้านการเกษตร ทฤษฏี การเรียนการสอนการวัดผลประเมินผล. ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2564. ผลผลิตสินค้าทาง
7. การปลูกผักและการส่งออก 38 7 การปลูกผักเพื่อการส่งออก กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา. การเกษตรจังหวัดศรีสะเกษ. ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม
8. การเลี้ยงปลา 32 8 การเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์ กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษา 2565, http://misapp.oae.go.th/area/ลุ่มแม่
9. การอนุรักษ์ธรรมชาติ 31 9 การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขั้นพื้นฐาน. ค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2564, http://- น้ า/แม่น้ าชี /ศรีสะเกษ.
10. การปลูกถั่วงอก 26 10 การเพาะถั่วงอกปลอดสารพิษ academic.obec.go.th/images/document/ เสน่ห์ เทศนา. 2561. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
11. การเพาะเห็ดนางฟ้า 24 11 โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา 1559878925_d_1.pdf แบบบูรณาการโดยใช้เกษตรกรรมเป็นฐาน เพื่อ
ฐิตินันท์ ดาวศรี, พรนภา ทิพย์กองลาด, พีรพล เข็มผง, สม พัฒนาทักษะอาชีพเกษตรกรรม ส าหรับนักเรียน
สรุปผลการวิจัย 3) แนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนและ เชาว์ ดับโศรก, สุทธิดา เพ่งพิศ, วรวัฒน์ วิศรุต ในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตชนบทภาคเหนือ
การสอนด้านวิชาการเกษตรในโรงเรียนมัธยมศึกษาโดย ไพศาล และจันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน. 2564. แนว ตอนล่าง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคม
1) การจัดการเรียนวิชาเกษตรกรรมในโรงเรียน การมีส่วนร่วม ควรมีกิจกรรมการเรียนและการสอนที่ ทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในศตวรรษ ศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มัธยมศึกษาถูกจัดรวมให้มีการเรียนการสอนอยู่ในรายวิชา ชุมชนมีส่วนร่วม จากการศึกษานี้ใช้กระบวนการ AIC ใน ที่ 21. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ พิบูลสงคราม. 12(1), 145-162.
ของกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้เรียนแต่ละ การหาความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครอง พบ สังคมศาสตร์. 11(1), 59-74. อภิเดช ช่างชัย. 2560. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้าน
คนต้องเรียนให้ครบตามที่หลักสูตรก าหนดเป็นการเลือก โครงการ/กิจกรรมที่ชุมชนและนักเรียนสนใจศึกษา ได้แก่ นิรันดร์ ยิ่งยวด, ประสงค์ ตันพิชัย, สันติ ศรีสวนแตง, การเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน:
ตามที่ผู้เรียนสนใจ ซึ่งวิชาด้านการเกษตรมีผู้เลือกเรียน (1) การปลูกพืชสมุนไพร ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก และธัญลักษณ์ เกิดทรัพย์. 2561. การพัฒนา กรณีศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย
น้อย สาเหตุหลักเกิดจากผู้เรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการ เป็นเกษตรกร ท าการเกษตรเชิงเดี่ยวเพียงอย่างเดียว ท า กิจกรรมการเรียนรู้ทางเกษตรและสิ่งแวดล้อม เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน วารสาร
เรียนวิชาเกษตร เนื้อหาและกิจกรรมไม่น่าสนใจ สาเหตุ ให้รายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย (2) การเลี้ยงโคนม ซึ่ง ในโรงเรียนผ่านการมีส่วนร่วมของภาคี มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 10(2),
รองเกิดจากความไม่พร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ เป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับเจ้าของกิจการเป็น เครือข่าย: กรณีศึกษา กิจกรรมภูมิทัศน์กินได้ 1544-1560.
การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรน้ าที่เป็นปัจจัยหลัก อย่างดี (3) การปลูกไม้ผลที่ให้ผลผลิตตามฤดูกาล โรงเรียนวัดสาลี จ.สุพรรณบุรี. วารสาร
ในการท าการเกษตร ผู้ปกครองให้ความสนใจกับการท าสวนผลไม้ ผู้เรียนและ
2) ความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมการจัด ผู้ปกครองเสนอแนะให้ควรมีการจัดกิจกรรมการให้ความรู้
กิจกรรมการเรียนวิชาเกษตรของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ ด้านวิชาการ และให้ผู้เชี่ยวชาญแบ่งปันประสบการณ์และ
โรงเรียน คือ การมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มทักษะองค์ความรู้
วิชาเกษตรในระดับปานกลาง มีส่วนร่วมในการแก้ไข
ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเกษตรใน กิตติกรรมประกาศ
โรงเรียนมัธยมศึกษาและมีส่วนร่วมในการวางแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนในระดับน้อย ส่วนความคิดเห็น คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ คณาจารย์สาขาวิชา
ต่อแนวทางพัฒนาในการจัดกิจกรรมการเรียนวิชาเกษตร ส่งเสริมการเกษตรและเกษตรเชิงระบบ มหาวิทยาลัย
นักเรียนและผู้ปกครองไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการการ ขอนแก่น ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ค าแนะน า
วางแผนการเรียนการสอน ส่งผลให้ทางโรงเรียนไม่ทราบ และประสบการณ์ที่มีคุณประโยชน์ยิ่ง ผู้วิจัยใคร่
ปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ดังนั้นการ ขอขอบคุณท่านผู้บริหารโรงเรียนเบญจลักษ์พิทยา คณะ
จัดกิจกรรมจึงยึดตามหลักสูตรแกนกลางเป็นหลัก เน้น ครู และกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ทุกท่านที่ให้
เนื้อหามากกว่าปฏิบัติ เพื่อสร้างความรู้ขั้นพื้นฐานให้กับน ความอนุเคราะห์สละเวลาให้ความช่วยเหลือ และให้ความ
นักเรียน ซึ่งไม่ตรงตามความต้องการของนักเรียน เช่น ร่วมมือในการปฏิบัติการวิจัยทุกขั้นตอน และให้ค าแนะน า
ทักษะและองค์ความรู้ในการปลูกพืชสมุนไพร การเลี้ยงโค เกี่ยวกับแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้าน
นม และการปลูกไม้ผลที่ให้ผลผลิตตามฤดูกาล การเกษตรโดยการมีส่วนร่วมเป็นอย่างดี
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566 วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566