Page 78 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 78

74
                                                           74

               test speed 1.0 mm/s, return speed 10.0 mm/s,            2.3 วิเคราะห์คุณภาพทางประสาทสัมผัส
               trigger load 5.0 g (ดัดแปลงจาก Nguyen et al., 2013)     น าผลิตภัณฑ์ปลาซิวแก้วแผ่นอบกรอบ ขนาด
               บันทึกผลการทดสอบ 3 ซ้ า รายงานผลเป็นค่าความแข็ง   30x50 มิลลิเมตร ตัวอย่างละ 3 แผ่น มาทดสอบคุณภาพ
               (Hardness) และความกรอบ (Fracturability) ค่าแรงกด  ทางด้านประสาทสัมผัสด้วยผู้บริโภคทั่วไปที่ไม่ผ่านการ
               ที่วัดได้หน่วยเป็นกรัม (g)                       ฝึกฝน จ านวน 30 คน เพื่อประเมินคุณลักษณะทางด้าน
                       2.2 วิเคราะห์ทางเคมี                     ประสาทสัมผัส ด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และ
                               2.2.1 วิเคราะห์พลังงานทั้งหมด โดย  ความชอบโดยรวม โดยวิธี 9-point hedonic scale (1
               ใช้ Calorie’s conversion factor ของ Atwater ค านวณ  คือไม่ชอบมากที่สุด และ 9 คือชอบมากที่สุด) และน าสูตร
               โดยใช้ค่า conversion factor ส าหรับ Protein, Carbo-   ที่ได้รับความชอบมากที่สุดไปทดสอบการยอมรับของ
               hydrates และ Fat เท่ากับ 4, 4 และ 9 kcal/g ตามล าดับ   ผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลทั่วไปจ านวน 150 คน
               ในการค านวณจากสูตร (Charrondiere et al., 2004)   โดยวิธี 9-point hedonic scale (1 คือไม่ชอบมากที่สุด
                              2.2.2 วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี  และ 9 คือชอบมากที่สุด)
               โดยประมาณ (Proximate analysis) ของตัวอย่างปลาซิว
               แก้วแผ่นอบกรอบ ตามวิธีการของ AOAC (2000) ได้แก่   3. การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ
               ความชื้น ไขมัน เส้นใยหยาบ เถ้า   และโปรตีน              ท าการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ โดยใช้
               (6.25xปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด)                     โปรแกรม Inmucal-Nutrients V. 3   จากสถาบัน
                              2.2.3 วิเคราะห์ปริมาณคาร์โบไฮเดรต   โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (ชญานิษฐ์ และคณะ,
               โดยวิธี Calculation by difference (Charrondiere et   2557)
               al., 2004) จากสูตร คาร์โบไฮเดรต (เปอร์เซ็นต์) = 100–
               (ความชื้น(เปอร์เซ็นต์)+ไขมัน(เปอร์เซ็นต์)+เส้นใยหยาบ  4. การวิเคราะห์ทางสถิติ
               (เปอร์เซ็นต์)+เถ้า(เปอร์เซ็นต์)+โปรตีน(เปอร์เซ็นต์))    งานวิจัยนี้วางแผนการทดลองแบบ CRD (com-
                              2.2.4 วิเคราะห์ปริมาณความชื้น โดย  pletely randomized design)   ส าหรับการตรวจสอบ
               ใช้เครื่องส าหรับวิเคราะห์ความชื้น (Thermogravimetric   ทางด้านเคมีกายภาพ ทดลอง 3 ซ้ า และการวางแผน
               Analyzer) ยี่ห้อ Leco รุ่น TGA701 ท าการชั่งตัวอย่าง  ทดลองแบบ RCBD (randomized complete block
               ประมาณ 1 กรัม ใส่ลงในภาชนะบรรจุตัวอย่าง อบที่    design) ส าหรับการทดสอบทางประสาทสัมผัสของผู้
               อุณหภูมิ 105C เป็นเวลา 4–5 ชั่วโมง วิเคราะห์หาความ  ทดสอบทั่วไป วิเคราะห์ความแปรปรวนโดยใช้วิธี One
               แตกต่างของน้ าหนักก่อนอบและหลังอบ                way ANOVA (analysis of variance) เปรียบเทียบความ
                              2.2.5 วิเคราะห์ปริมาณเถ้า โดยใส่  แตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT (Duncan' s new
               ตัวอย่าง 2 กรัมในถ้วยกระเบื้อง (crucible) ด้วยวิธีการชั่ง  multiple-range test)    ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
               น้ าหนัก น าไปเผาในเตาเผาไฟฟ้าที่อุณหภูมิ 550C   โดยใช้โปรแกรม SPSS version 23.0 (SPSS, Munich,
               จนกว่าตัวอย่างจะเป็นสีเทา นาน 1–2 ชั่วโมง จากนั้น  Germany)
               น าไปวางให้เย็นในโถดูดความชื้นและชั่งน้ าหนักเถ้าที่
               เหลืออยู่ ตามวิธีของ AOAC (2000) methods 900.02             ผลการทดลองและวิจารณ์
               และ 923.03
                              2.2.6 วิเคราะห์ปริมาณน้ าอิสระ    1. ผลของการเติมแป้งมันส าปะหลังต่อคุณภาพของ
               (Water activity; aw) ด้วยเครื่อง water activity meter    ผลิตภัณฑ์ปลาซิวแก้วแผ่นอบกรอบ
               (Novasina model: ms 1, Switzerland)      ที่อุณหภูมิ      จากการศึกษาปริมาณแป้งมันส าปะหลังต่อ
               25C โดยน าปลาซิวแก้วแผ่นอบกรอบมาบดละเอียด ใส่   คุณภาพด้านสี ค่าความแข็งและความกรอบของผลิตภัณฑ์
               ในภาชนะส าหรับบรรจุตัวอย่าง ประมาณ 2 กรัม จากนั้น  ปลาซิวแก้วแผ่นอบกรอบ แสดงในตารางที่ 2 พบว่า การ
                                                                                                     *
               น าไปวัดค่า aw                                   เติมแป้งมันส าปะหลังไม่มีผลทางสถิติต่อค่า L  แต่มี
                                                                                              *
                                                                                        *
                              2.2.7 วิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม     แนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ค่า a  และ b   มีค่าสูงขึ้นเมื่อ
               โดยใช้เครื่อง AAS AA-6300 Atomic Absorption      ปริมาณของแป้งมันส าปะหลังเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทาง
               Spectrophotometer                                สถิติ (p<0.05) โดยสูตรที่มีการเติมแป้งมันส าปะหลังที่
                                                                                   * *
                                                                ระดับ 8 เปอร์เซ็นต์ มีค่า L  a  และ b* สูงที่สุด สอดคล้อง


                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83