Page 33 - Braces News - July 2023
P. 33

Myth Buster 31







                                                                       การจัดฟันร่วมกับการผ่าตัด  2
            ประเมินทั้งด้านใกล้แก้ม (Buccal) และด้านใกล้ลิ้น (Lingual)   ขากรรไกรไม่เป็นปัจจัยชักน�าให้เกิด

            ในทุกซี่ตั้งแต่ฟันกรามซี่ที่สองด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง  ทั้งใน  ภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น
            ขากรรไกรบนและล่าง นอกจากนี้ยังบันทึกการเปลี่ยนแปลง  ในผู้ป่วยที่มีโครงสร้างกระดูกใบหน้า
            ของความกว้างขากรรไกรระหว่างฟันกรามใหญ่ซี่แรก        แบบที่ 3

            (Intermolar width) และความกว้างขากรรไกรระหว่างฟันเขี้ยว
            (Intercanine width) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงมุมของฟันตัด   Abbasi S, Rahpeyma A, et al: J Oral Maxillofac
            (Incisor angulation) ด้วย                            Surg; 2022;80 (August): 1340-1353.
                 ผลการศึกษาวิจัย:  มุม  U1-SN  และ  Mandibular      วัตถุประสงค์:  เพื่อประเมินว่าการเลื่อนขากรรไกรบน
            incisor angulation มีค่าเพิ่มขึ้น รวมถึงความกว้างขากรรไกร  มาทางด้านหน้า  (Maxillary  advancement)  และการเลื่อน

            ระหว่างฟันกรามใหญ่ซี่แรกและระหว่างฟันเขี้ยวก็เพิ่มขึ้นทั้งใน  ขากรรไกรล่างถอยหลัง (Mandibular setback) ในผู้ป่วย
            ขากรรไกรบนและล่างในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการจัดฟัน  ที่มีโครงสร้างกระดูกใบหน้าแบบที่ 3 ที่มีสุขภาพดี ไม่มีประวัติ
            ด้วยเครื่องจัดฟันชนิดใสแบบไม่มีการถอนฟันร่วมด้วย  ก่อน  ความบกพร่องทางเดินหายใจสามารถชักนำาให้เกิดภาวะ

            การรักษาตรวจพบว่ามี 859 บริเวณที่มีการเกิดรอยกระดูก  หยุดหายใจขณะหลับได้หรือไม่
            เปิดแยกและ 194 บริเวณที่มีการเกิดกระดูกโหว่อยู่ก่อนแล้ว   รูปแบบการศึกษาวิจัย: การศึกษาแบบไปข้างหน้า
            หลังจากให้การรักษาทางทันตกรรมจัดฟันตรวจพบว่า        โดยผู้ถูกศึกษาและผู้ทำาการศึกษาไม่มีการรับรู้ข้อมูล (Double-
            มีการเกิดรอยกระดูกเปิดแยก 1,068 บริเวณและกระดูกโหว่  blinded, prospective cohort study)
            282 บริเวณ โดยส่วนใหญ่เกิดที่บริเวณด้านใกล้แก้มของฟัน   ผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัย:  ผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรง

            เมื่อทำาการวิเคราะห์การถดถอยทางโลจิสติก (Logistic regression)  จำานวน 30 ราย (อายุเฉลี่ย 25.7 ±5.2 ปี) ไม่มีอาการของ
            พบว่า ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดรอยกระดูกเปิดแยก  ภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น  มีค่าดัชนีมวลกาย
            ในคนไข้ที่รักษาด้วยเครื่องมือจัดฟันชนิดใสอย่างมีนัยสำาคัญ  เฉลี่ย (Mean Body Mass Index) 19.9 ±3.6 กก./ม  และ
                                                                                                          2
            มี 2 ปัจจัย คือ อายุของผู้ป่วยและค่ามุม ANB ก่อนการรักษา  มีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของโครงสร้างกระดูกใบหน้า (Mean
            นอกจากนี้ในกลุ่มผู้ป่วยแอฟริกันอเมริกันยังมีแนวโน้ม  skeletal discrepancy) 7.5 ±1.4 มม. ได้รับการจัดฟัน
            ในการเกิดรอยกระดูกเปิดแยกมากกว่าคนไข้ในกลุ่มอื่น ๆ อย่าง  ก่อนการผ่าตัด (Orthodontic decompensation) และได้รับ
            มีนัยสำาคัญทางสถิติ การเกิดกระดูกโหว่พบว่าสัมพันธ์กับอายุ  การผ่าตัดขากรรไกรโดยการเลื่อนขากรรไกรล่างถอยหลัง
            ด้านใกล้แก้มของฟัน (Buccal surface) และการจัดฟันด้วย  4.5 ±1.1มม. และการเลื่อนขากรรไกรบนมาทางด้านหน้า

            เครื่องมือจัดฟันแบบใสโดยไม่มีการถอนฟัน              2.9 ±1.2 มม.
                 สรุป:  ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่มีแนวโน้มที่จะสูญเสียการยึดเกาะ  วิธีการศึกษาวิจัย:  ผู้ป่วยทุกรายได้รับการทดสอบ
            ของอวัยวะปริทันต์ (Attachment loss) ส่งผลทำาให้เกิดรอย  การนอนหลับที่บ้าน (Home sleep test) 3 ช่วงเวลาคือ

            กระดูกเปิดแยกและกระดูกโหว่ตามมาได้  ดังนั้นการวางแผน  ช่วงที่ 1 (T0): ทดสอบการนอนหลับที่บ้านก่อนการผ่าตัด
            การรักษาจึงเป็นสิ่งสำาคัญ ควรหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดเหตุการณ์  ขากรรไกร 1 สัปดาห์ ช่วงที่ 2 (T1): ทดสอบการนอนหลับ
            เหล่านี้ขึ้น และรักษาโดยไม่ให้เกิดการร่นลงหรือการสูญเสีย  ที่บ้านหลังการผ่าตัดขากรรไกร 1 เดือน และช่วงที่ 3 (T3):
            การยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์เพิ่มขึ้น ปัจจัยหลักที่ต้องพิจารณา  ทดสอบการนอนหลับที่บ้านหลังการผ่าตัดขากรรไกร
            ในการรักษาผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ ได้แก่ อายุของผู้ป่วย มุม ANB  6 เดือน ผู้ป่วยทุกรายได้รับการจัดฟันก่อนการผ่าตัด

            เชื้อชาติของผู้ป่วย ตำาแหน่งขากรรไกร และปริมาณการขยาย  ขากรรไกร การผ่าตัดเลื่อนขากรรไกรบนมาทางด้านหน้า
            แนวโค้งของฟัน (Dental expansion)
                 ผู้แปล: ทพญ.ชนิษฐา ศิริจันทร์
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38