Page 32 - Braces News - July 2023
P. 32

30     July 2023






                การวิเคราะห์ 3 มิติ เพื่อศึกษา
                การเปลี่ยนแปลงของรากฟัน

          ในผู้ป่วยที่มีพัฒนาการของรากฟัน
          ในระยะที่แตกต่างกันภายหลังการรักษาด้วย
          ทันตกรรมจัดฟัน
                                                             นัยสำาคัญทางสถิติทั้ง 2 กลุ่ม อย่างไรก็ตามหากเปรียบเทียบ
           Wan J, Zhou S, et al: Am J Orthod Dentofacial     ระหว่างกลุ่มชุดฟันผสมกับกลุ่มชุดฟันแท้ระยะแรก และกลุ่ม
           Orthop; 2023;163 (January): 60-67.                ผู้ใหญ่พบว่า  มีเพียงปริมาณของเคลือบรากฟันที่เปลี่ยนแปลงไป

              วัตถุประสงค์:  เพื่อประเมินพัฒนาการของรากฟันตัด  เท่านั้นที่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

          หลังจากการรักษาด้วยทันตกรรมจัดฟัน  และผลที่เกิดขึ้นกับ  สรุป: การจัดฟันแต่เนิ่น ๆ เพื่อแก้ไขการสบฟันผิดปกติ
          รากฟันที่ระยะพัฒนาของรากฟันที่แตกต่างกัน           ประเภทที่ 3 ซึ่งมีฟันหน้าสบไขว้ไม่เป็นอันตรายหรือส่งผลเสีย
              ผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัย:  ผู้ป่วยรักษาด้วยเครื่องมือ  ต่อพัฒนาการของรากฟันตัดแท้บนซี่กลาง
          จัดฟันแบบติดแน่นจำานวน 52 คน                           ผู้แปล: ทพ.ชาครีย์ ลี้อิศรามาศ

              วิธีการศึกษาวิจัย: แบ่งผู้ป่วยเป็น 3 กลุ่ม ตามอายุ
          และพัฒนาการของรากฟัน (1) กลุ่มชุดฟันผสม (เพศชาย 6 คน      ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดฟัน
          และเพศหญิง 10 คน อายุระหว่าง 8 ถึง 10 ปี) จำานวนฟันตัดแท้  ด้วยเครื่องมือจัดฟันแบบใสกับ
          บนซี่กลางทั้งหมด 32 ซี่ มีความยาวของรากฟันประมาณ   การเกิดรอยกระดูกเปิดแยกและกระดูกโหว่

          2 ใน 3 ของความยาวรากฟันที่สมบูรณ์ (2) กลุ่มชุดฟันแท้  ในผู้ป่วยที่มีปัญหาฟันซ้อนเกเล็กน้อย
          ระยะแรก (เพศชาย 10 คน และเพศหญิง 10 คน อายุระหว่าง   ถึงปานกลาง
          12  ถึง  17  ปี)  จำานวนฟันตัดแท้บนซี่กลางทั้งหมด  40  ซี่   Allahham DO, Kotsailidi EA, et al:
          มีปลายรากฟันปิดแล้ว (3) กลุ่มผู้ใหญ่ (เพศชาย 6 คน และ  Am J Orthod Dentofacial Orthop; 2023;163

          เพศหญิง 10 คน อายุระหว่าง 18 ถึง 32 ปี) จำานวนฟันตัดแท้  (January): 22-36.
          บนซี่กลางทั้งหมด 32 ซี่ มีพัฒนาการของรากฟันสมบูรณ์แล้ว   วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินการเกิดรอยกระดูกเปิดแยก
          กลุ่มแรกให้การรักษาด้วยเครื่องมือติดแน่นแบบ 2x4 ส่วน   (Bone dehiscences) และกระดูกโหว่ (Bone fenestrations)
          2 กลุ่มหลังให้การรักษาโดยเครื่องมือติดแน่นทั้งปาก ทั้งนี้  ในผู้ป่วยจัดฟันที่รักษาด้วยเครื่องมือจัดฟันชนิดใสแบบไม่มี

          จะประเมินความยาวรากฟัน และการเปลี่ยนแปลงของรากฟัน  การถอนฟันร่วมด้วย
          ด้วยภาพรังสี CBCT ทั้งก่อนและหลังการจัดฟัน และประเมิน  ผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัย: ผู้ป่วยผู้ใหญ่ 29 คน
          การเคลื่อนของฟันด้วยภาพรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้างใน  (เพศหญิง 21 คน และเพศชาย 8 คน) อายุเฉลี่ย 39.28 ปี
          โปรแกรม Dolphin                                        วิธีการศึกษาวิจัย: ผู้วิจัยประเมินฟัน 791 ซี่ และ

              ผลการศึกษาวิจัย:  ผลวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น  ตรวจพื้นผิวรากฟันมากกว่า  1,900  ด้าน  ซึ่งมีระยะเวลา
          พบว่า  ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนของฟันกับความยาว  การรักษาเฉลี่ยอยู่ที่ 18.62 เดือน โดยฟันจะถูกประเมินว่า
          รากฟันที่เปลี่ยนแปลงไป  ในกลุ่มชุดฟันผสมพบว่าฟันยังสามารถ  เกิดความวิการของสันกระดูก (Alveolar bone defects)
          พัฒนาเพิ่มความยาวรากฟันและปริมาณของเคลือบรากฟันต่อได้  ก็ต่อเมื่อระยะจากรอยเชื่อมต่อระหว่างเคลือบรากฟันและ

          หลังการจัดฟัน  โดยความยาวรากฟันเพิ่มขึ้นเฉลี่ย  0.68  mm  เคลือบฟัน (Cementoenamel junction) ไปยังสันกระดูก
          และปริมาณของเคลือบรากฟันเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 51.79 ถึง 64.26 mm 3   เบ้าฟัน  (Crestal  bone)  เกิดจากเปลี่ยนแปลงมากกว่า
          เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ แต่สำาหรับกลุ่ม  2.0 มิลลิเมตร และจะถูกประเมินว่าเกิดช่องโหว่ที่กระดูกเบ้าฟัน
          ชุดฟันแท้ระยะแรกและกลุ่มผู้ใหญ่พบว่า  ทั้งความยาวรากฟัน   (Bone fenestrations) เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงมากกว่า

          และปริมาณของเคลือบรากฟันลดลงหลังการจัดฟันอย่างมี   2.2  มิลลิเมตรเทียบกับก่อนการรักษา  พื้นผิวรากฟันจะถูก
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37