Page 34 - Braces News - July 2023
P. 34

32     July 2023








                                                                    การคาดการณ์การเคลื่อนฟันด้วย
                                                                    เครื่องมือจัดฟันแบบใสในกลุ่ม
                                                             ผู้ป่วยที่รักษาด้วยการถอนฟันกรามน้อย:
          และการเลื่อนขากรรไกรล่างถอยหลัง  ระหว่างการผ่าตัดผู้ป่วยได้รับ  การวิเคราะห์พหุตัวแปร
          การยึดตรึงกระดูกภายในอย่างมั่นคง (Rigid internal fixation)
          การมัดฟันบนและล่างเข้าด้วยกัน (Intermaxillary fixation)   Ren L, Liu L, et al: Prog Orthod; 2022;23
          เป็นเวลา 2 สัปดาห์ และการคล้องยางระหว่างฟันบนล่าง   (December 30): 52.

          (Intermaxillary elastic) เป็นเวลา 2 สัปดาห์            วัตถุประสงค์: เพื่อคาดการณ์การเคลื่อนฟันหลังจัดฟัน
              ผลการศึกษาวิจัย:  ค่าเฉลี่ยดัชนีหยุดหายใจและ   ด้วย clear aligner ในเคสถอนฟันกรามน้อย และประเมินปัจจัย
          หายใจแผ่วเบา (Mean Apnea-Hypopnea Index) ที่เวลา  ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนฟัน
          T0, T1 และ T2 = 1.8 ±1.0, 3.4 ±1.5 และ 1.9 ±0.9 ครั้ง/ชม.   รูปแบบการศึกษาวิจัย: การศึกษาย้อนหลัง

          ตามลำาดับ  ค่าเฉลี่ยดัชนีหยุดหายใจและหายใจแผ่วเบาที่เวลา   ผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัย:  ผู้ป่วย  31  คนที่ได้รับ
          T1 สูงกว่า T0 และ T2 อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (P < 0.001)  การรักษาโดย Invisalign ร่วมกับการถอนฟันกรามน้อยบน
          แต่ค่าเฉลี่ยดัชนีหยุดหายใจและหายใจแผ่วเบาที่เวลา T0 และ  มีฟันหน้าซ้อนเกและยื่น ไม่มีการใช้เครื่องมือจัดฟันแบบติดแน่น
          T2 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ โดยหาก  บางส่วน และมีความร่วมมือในการรักษาดี

          ทำาการเลื่อนขากรรไกรล่างถอยหลังน้อยกว่า 5 มม. ค่าเฉลี่ยดัชนี  วิธีการศึกษาวิจัย: การเตรียม anchorage ฟันกราม
          หยุดหายใจและหายใจแผ่วเบาลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ  และการดึงฟันเขี้ยว ใช้ attachment G6 หรือ conventional
          ที่เวลา T1 และ T2 (P < 0.05) ค่าออกซิเจนในเลือด (SpO )  vertical attachment และทำา superimposition ระหว่าง
                                                        2
          ที่เวลา T0, T1 และ T2 = 96.7, 94.0 และ 96.7 ตามลำาดับ  โมเดลหลังการรักษากับตำาแหน่งฟันที่วางแผนไว้  เพื่อประเมิน

          ซึ่งค่าออกซิเจนในเลือดลดลงหลังการผ่าตัดขากรรไกร 1 เดือน  ความแตกต่าง
          แต่เพิ่มขึ้นหลังการผ่าตัดขากรรไกร 6 เดือน และค่าออกซิเจน  ผลการศึกษาวิจัย:  ฟันกรามใหญ่ซี่ที่หนึ่งถูกกำาหนด
          ในเลือดก่อนการผ่าตัดขากรรไกร 1 สัปดาห์และหลังการผ่าตัด  ให้มี distal tipping 3 องศา ไม่มี mesial movement
          ขากรรไกร 6 เดือนไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ  และ  extrusion  แต่ผลการเคลื่อนฟันพบว่ามี  mesial

              สรุป:  ในผู้ป่วยวัยหนุ่มสาวที่มีสุขภาพแข็งแรง  ไม่สูบบุหรี่  movement 2 mm (P < 0.001) และ mesial tipping
          และในผู้ใหญ่ที่ไม่อ้วน  การผ่าตัด  2  ขากรรไกรด้วยการทำา  5 องศา (P < 0.001) ฟันตัดถูกดึงถอยน้อยกว่า 2 mm
          ศัลยกรรมตัดกระดูกแบบ LeFort I maxillary advancement  extrusion  มากกว่า  1.5  mm  และ  tip  lingual  มากกว่า
          และการเลื่อนขากรรไกรล่างถอยหลังน้อยกว่า 7 มม. ไม่ได้  10.6 องศาจากที่วางแผนไว้ (P < 0.001) ฟันเขี้ยวมี distal

          เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับจาก   movement น้อยกว่า แต่มี distal and lingual tipping และ
          การอุดกั้น                                         distal rotation มากกว่าที่วางแผนไว้ นอกจากนี้ยังพบ extrusion
              ผู้แปล: ทพญ.อุษณีย์ ปัทมาลัย                   ของฟันกรามในคนไข้วัยรุ่นมากกว่าในคนไข้ผู้ใหญ่
                                                                 สรุป:  แม้จะมีการเตรียม  anchorage  ในฟันกราม

                                                             (distal tipping) แต่ยังคงเกิด mesial movement และ mesial
                                                             tipping ในเคสถอนฟันกรามน้อยได้ การเกิด extrusion และ
                                                             lingual tipping ของฟันตัดจะน้อยลงเมื่อใช้ vertical rectangular
                                                             attachment ที่ฟันเขี้ยวเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ optimized

                                                             attachment
                                                                 ผู้แปล: ทพ.พีรพงศ์ อดิเศรษฐกุล
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39