Page 53 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 53

Q2 : การด�าเนินงานตรวจติดตาม A2 : การด�าเนินงานตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง
               ยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย   สามารถด�าเนินการได้ 2 วิธี
               ความดันโลหิตสูง หากมีข้อจ�ากัด คือ ท�า HBPM ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้องท�า HBPM ภายใน 90 วัน หรือ
               ด้านเครื่องมือการท�า HBPM   การตรวจวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุขเดิม ภายใน 90 วัน ด้วยวิธี
               สามารถนัดติดตามที่สถานบริการ  การวัดที่ถูกต้อง แต่ควรเน้นผลลัพธ์การตรวจติดตามโดย HBPM ≥ ร้อยละ 60
               สาธารณสุข ได้หรือไม่
               Q3 : การประเมินระดับความดัน  A3 : การค�านวณค่า HBPM ให้ตัดค่าความดันโลหิตที่วัดในวันแรกออก และค�านวณ
               โลหิต HBPM หากมีค่าเฉลี่ย 4 ค่า   ค่าเฉลี่ยจากค่าความดันโลหิตที่เหลือทั้งหมด
               จะใช้ค่าใด

               Q4 : ควรท�า HBPM ในกลุ่มป่วย   A4 : การท�า HBPM ควรวัดความดันโลหิตในช่วง 1 สัปดาห์ก่อนมาพบแพทย์ครั้งถัดไป
               ที่วินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงและ  ซึ่งแพทย์จะใช้ผลการท�า HBPM เพื่อพิจารณาประกอบการปรับขนาด
               เริ่มยาแล้ว เพื่อติดตามการปรับยา  ยาลดความดันโลหิต
               หรือไม่
               Q5 : ผู้ที่คัดกรองความดันโลหิต  A5 : ผู้ที่มีความดันโลหิตด้วยวิธีมาตรฐานและมีค่า BP ≥ 180/110 mmHg จากการ
               มีค่า BP ≥ 180/110 mmHg   คัดกรองควรพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (รหัส ICD - 10
               ควรส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย หรือ สามหลักขึ้นต้นด้วย I10 - I15)
               ควรท�า HBPM และนัดติดตามวัด
               ความดันโลหิตซ�้า
               Q6 : สามารถเพิ่มการตรวจยืนยัน A6 : การเพิ่มจ�านวนการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ควรเกิดจากความ
               เพื่อวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง  ร่วมมือจากภาคีเครือข่ายการด�าเนินงานทุกระดับ โดยมีข้อเสนอแนะ จากการทบทวน
               รายใหม่ ในระดับนโยบาย    ข้อมูล ดังนี้
               ได้อย่างไร                     - แพทย์อย่ากลัวที่จะยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
                                              - ทบทวนแนวทางการติดตามยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง หลังการ
                                       ด�าเนินการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง
                                              - ควรประเมิน CVD Risk ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง
                                       ซึ่งหากตรวจพบว่ามีหรือเคยได้รับการวินิจฉัยโรคหัวใจและหลอดเลือด ก็สามารถวินิจฉัย
                                       ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้ แม้จะมีระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ “เกือบสูง”
                                              - ทบทวนแนวทางยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง ด้วยวิธี HBPM และ
                                       OBPM ที่ถูกต้อง
                                              - พิจารณา hospital screening
                                              - ทบทวนแนวทางการให้ยาขนาดต�่า ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย
                                       ความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
               Q7 : ที่คัดกรองความดันโลหิต   A7 : ผู้ที่คัดกรองความดันโลหิตมีค่า BP ≥ 180/110 mmHg และแพทย์ไม่วินิจฉัย
               มีค่า BP ≥ 180/110 mmHg   ในวันนั้น แต่เมื่อติดตามวัดความดันโลหิตซ�้า พบว่าค่า BP < 180/110 mmHg ยังถือว่า
               และแพทย์ไม่วินิจฉัยในวันนั้น    เป็นเป้าหมายการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตในปีงบประมาณ
               แต่เมื่อติดตามวัดความดันโลหิตซ�้า   (ตัว B ของตัวชี้วัดร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิต ≥ 180/110 mmHg จากการคัดกรอง
               พบว่าค่า BP < 180/110 mmHg  ได้รับการวินิจฉัย)
               จะท�าให้เป้าหมายที่ต้องติดตาม
               วินิจฉัยลดลงหรือไม่










                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  41  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58