Page 50 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 50

Q7: ตัวชี้วัดการตรวจติดตาม  A7: ต้องตรวจสอบข้อมูลว่าสามารถส่งออก แฟ้ม LABFU ที่รหัส LABTEST = 0531002
          ยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรค  (การตรวจหาน�้าตาลกลูโคสในซีรั่ม/พลาสม่า) ได้หรือไม่ ซึ่งบาง รพ.สต.สามารถคีย์ได้
          เบาหวานกรณี รพ.สต.บันทึกและ แต่ส่งออกข้อมูลไม่ได้ เนื่องจากโปรแกรมที่ รพ.สต. ใช้งานไม่สามารถส่งออก LABFU
          ส่งออกข้อมูลแล้ว แต่ผลงานไม่ขึ้น ดังกล่าวได้ ดังนั้นควรจะให้โรงพยาบาลแม่ข่ายส่งออกข้อมูล เพราะโรงพยาบาล
          ในระบบ HDC จึงอยากทราบสาเหตุ  จะมีห้องปฏิบัติการที่สามารถส่งออกข้อมูลแฟ้ม LABFU ได้ รวมทั้งต้องตรวจสอบ
          และสามารถตรวจสอบได้หรือไม่  เลขบัตรประชาชนให้ตรงกันด้วย
          Q8: กรณีคัดกรองโรคเบาหวานที่  A8 : - กรณี รพ.สต.น�าข้อมูลจาก รพ.เอกชน มาลงในระบบ สิ่งที่ต้องพิจารณา คือ
          รพ.สต. เป็นกลุ่มสงสัยป่วย และ  ผล LAB ไม่ใช่ผลการตรวจระดับน�้าตาลตามปกติ เนื่องจากบางโปรแกรมต้องเปิด
          ไปตรวจยืนยันที่ รพ.เอกชน น�า  ระบบห้อง LAB ก่อน ท�าให้การลงข้อมูลค่าระดับน�้าตาลตามปกติ (แบบเดิม) จะไม่
          ผลตรวจมาให้ รพ.สต.ลงข้อมูลได้ สามารถใช้ได้ และไม่ถูกส่งออก ดังนั้นบางสถานบริการจึงเลือกที่จะไม่ลงข้อมูลส่วนนี้
          หรือไม่ และต้องลงข้อมูลในแฟ้มใด เลย แต่บางโปรแกรมก็สามารถรองรับการน�าผล LAB มาลงข้อมูลได้ และสามารถ
                                  ส่งออกได้ แฟ้มส�าหรับส่งออกข้อมูล คือแฟ้ม LABFU ที่รหัส LABTEST = 0531002
                                  (การตรวจหาน�้าตาลกลูโคสในซีรั่ม/พลาสม่า) และต้องตรวจสอบ 43 แฟ้มในการส่ง
                                  ออกข้อมูล โดยการ export 43 แฟ้ม แล้วตรวจสอบแฟ้ม LABFU ว่ามีรหัส LAB ตรง
                                  กับ Template ส่งออกหรือไม่ ถ้าไม่มีจะไม่ถูกนับเป็นผลงาน
                                  - กรณีโรงพยาบาลจะมีห้องปฏิบัติการที่สามารถส่ง LAB 43 แฟ้มได้ แต่สิ่งที่ต้องตรวจสอบ
                                  คือ เลขบัตรประชาชนตรงกับกลุ่มสงสัยป่วยที่ต้องติดตามวินิจฉัยหรือไม่ ถ้าเลขบัตร
                                  ประชาชนถูกต้อง รหัส LAB ถูกต้อง เมื่อส่งออกข้อมูลก็จะเข้าสู่ระบบ HDC และนับ
                                  เป็นผลงาน

          Q9: ตัวชี้วัดผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ A9: ระบบ HDC ประมวลผลจากแฟ้ม CHRONIC แต่ถ้าบางสถานบริการไม่สามารถ
          ควบคุมระดับน�้าตาลได้ดี ในกรณี ส่งออกข้อมูลผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนในแฟ้ม CHRONIC ได้ ทาง HDC สามารถประมวล
          ที่มีโรคร่วมจะเป็นการขึ้นทะเบียน ผลข้อมูลจากแฟ้ม DIAGNOSIS_OPD, DIAGNOSIS_IPD ภายในปีงบประมาณ เช่น
          ในแฟ้ม CHRONIC พบว่าระบบ  ในปีงบประมาณ 2565 เดือนพฤศจิกายน ถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน (E11)
          HIS บางสถานบริการไม่สามารถ  และมีโรคหัวใจขาดเลือด (I20) ร่วมด้วย กรณีนี้นับได้ว่ามีโรคร่วมแล้ว ถึงแม้จะไม่ได้
          ส่งข้อมูลผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนแฟ้ม  ขึ้นทะเบียนในแฟ้ม CHRONIC หรือส่งออกข้อมูลไม่ได้ก็ตาม
          CHRONIC ทุกกลุ่มโรคที่ระบุใน
          Template ได้ ถ้าจะใช้ข้อมูลโรค
          ร่วมจากแฟ้ม DIAGNOSIS_OPD
          และDIAGNOSIS_IPD จะสามารถ
          ท�าได้หรือไม่
          Q10: กรณีตรวจคัดกรองด้วย   A10: กรณีคัดกรองแล้วเข้าข่ายเป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน การยืนยันวินิจฉัยเป็น
          DTX.ที่ รพ.สต. พบว่า มีค่าระดับ ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ภายในวันนั้น จะไม่นับเป็นผลงานในตัวชี้วัดตรวจติดตาม
          น�้าตาลสูง จึงส่งต่อตรวจซ�้าที่ รพ.  ยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน เนื่องจากกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
          ภายในวันเดียวกัน และแพทย์  ต้องได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหาร
          วินิจฉัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ท�าให้  มากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข โดยสามารถ
          ไม่ตรงตามรายละเอียดใน   ตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัยป่วย
          Template การตรวจติดตาม  เบาหวาน (ภายใน 90 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวาน 2560
          ยืนยันวินิจฉัยโรคเบาหวาน นับ  หมายเหตุ : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัยภายใน 1-90 วัน
          เป็นผลงานได้หรือไม่     โดยไม่ต้องเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน

          Q11: การตรวจระดับน�้าตาลโดย A11: กรณีการตรวจระดับน�้าตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) หรือการตรวจระดับ
          วิธีเจาะปลายนิ้ว FCBG ค่าระดับ  พลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะจากหลอดเลือดด�า (FPG) พบว่าค่าน�้าตาลในเลือด
          น�้าตาล <70 mg/dl จัดเป็นกลุ่มใด  ต�่ากว่า 70 mg/dl ให้ตรวจยืนยันด้วย FPG อีกครั้ง และสามารถคีย์ข้อมูลเข้าระบบ
          และระบบสามารถรองรับค่า  HDC ได้ เพราะในระบบ HDC สามารถรองรับข้อมูลได้ตั้งแต่ค่าระดับน�้าตาล 50 mg/dl
          ระดับน�้าตาลได้ต�่าสุดเท่าไหร่  ขึ้นไป แต่ถ้าต�่ากว่า 50 mg/dl ในระบบ HDC ไม่สามารถรองรับได้


   NCD       38   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55