Page 49 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 49

ประเด็นค�ำถำม - ตอบเกี่ยวกับตัวชี้วัด



                            จากการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพแนวทางการด�าเนินงาน
                           โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 วันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2565

              1. Q & A ประเด็นโรคเบาหวาน

               Q1: ควรตรวจวัดระดับน�้าตาล   A1: ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวาน 2560 แนะน�าให้ตรวจวัดระดับ
               ในเลือดหลังมื้ออาหารกี่นาที  น�้าตาลในเลือดหลังอาหาร 1-2 ชั่วโมง เนื่องจากในคนปกติจะสามารถลดระดับ
                                       น�้าตาลลงมาได้ภายในเวลา 2 ชั่วโมง ส่วนผู้ที่มีการหลั่งอินซูลินบกพร่องหรือเป็นโรค
                                       เบาหวานจะต้องใช้เวลาในการลดระดับน�้าตาลนานกว่า 2 ชั่วโมง
               Q2: ผู้ป่วยเบาหวานควรเริ่ม    A2: ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (ค่าเป้าหมายการรักษา LDL<100 mg/dl) ซึ่งในการรักษา
               ใช้ยาที่ค่า Low Density   เพื่อลดไขมันในเลือด จะเริ่มต้นจากการควบคุมอาหารประมาณ 6 สัปดาห์ ถ้าค่า LDL
               Lipoprotein (LDL) เท่าไหร่  ยังไม่ลดลงก็จะเข้าสู่กระบวนการควบคุมอาหารอย่างเข้มข้นต่ออีก 6 สัปดาห์ รวมทั้ง
                                       สิ้นประมาณ 3 เดือน ในกรณีที่มีโรคร่วม เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด (ค่าเป้าหมาย
                                       การรักษา LDL<70 mg/dl) ถ้าระดับ LDL ยังไม่ลดลงอาจจะต้องเพิ่ม Dose ยาใน
                                       กลุ่ม Statin
               Q3: ผู้ป่วยที่อ้วนขึ้นจากภาวะ   A3 : ในเบื้องต้นไม่ต้องลดยา Glipizide เนื่องจากเป็นกลุ่มยาหลัก แต่ควรพิจารณาว่า
               Hyperglycemia ควรลดยา   ถ้าผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน�้าตาลแล้วแต่ค่าน�้าตาลสูง และน�้าหนักตัวเพิ่มมากขึ้น
               Glipizide ได้หรือไม่    ให้พิจารณาว่าเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มากเกินไป หรือผู้ป่วยได้รับ
                                       ยา Sulfonylureas ซึ่งจะกระตุ้นการหลั่ง Insulin ท�าให้เกิดอาการหิวมากกว่าปกติ
                                       เนื่องจากยากลุ่มนี้เป็นยาหลักที่ใช้รักษาผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทย ทั้งนี้อาจเกิด
                                       จากตัวยาและการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม
               Q4: การคัดกรองเบาหวานในอายุ  A4: กรณีที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป สามารถเลือกใช้วิธี Thai Diabetic Risk Score
               35 ปีขึ้นไป ขั้นตอนการ ประเมิน  ≥ 6 คะแนน กับ FPG หรือ FCBG 100-109 มก/ดล.วิธีใดวิธีหนึ่งได้ แต่หากกรณี
               Thai Diabetic Risk Score และ ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี ต้องใช้เกณฑ์การคัดกรองขององค์การอนามัยโลกด้วย
               การตรวจค่าน�้าตาลด้วยวิธี FPG  เพื่อหาความเสี่ยงร่วมอื่นๆ ตาม Flow ดังนี้
               หาก Thai Diabetic Risk Score
               ≥ 6 คะแนน กับ FPG หรือ
               FCBG 100-125 มก/ดล.
               สามารถใช้วิธีใดวิธีหนึ่งได้หรือไม่












               Q5: กรณีตรวจด้วยวิธี FPG   A5: ตรวจด้วยวิธี FPG จ�านวน 2 ครั้งแล้ว หากค่าระดับน�้าตาล ≥ 126 มก/ดล.
               จ�านวน 2 ครั้งแล้ว การวินิจฉัย  สามารถวินิจฉัยได้เลย โดยไม่ต้องตรวจด้วยวิธี OGTT ซ�้า
               ต้องตรวจด้วยวิธี OGTT อีกครั้ง
               หรือไม่
               Q6: การตรวจด้วยวิธี OGTT ต้อง A6: ก่อนการตรวจ OGTT ผู้รับการตรวจต้องงดอาหารและเครื่องดื่มมากกว่า 8 ชั่วโมง
               อดอาหารก่อนมาตรวจหรือไม่  (สามารถดื่มน�้าเปล่าได้)

                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  37  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54