Page 44 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 44
Q8: รพ.สต. คัดกรอง A8 : - กรณีการคัดกรองจากการที่ไม่อดอาหาร โดยตรวจระดับน�้าตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (RCBG)
แบบ ไม่อดอาหาร จะบัน หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคส (RPG) มีค่า ≥ 110 mg/dl สามารถตรวจคัดกรองซ�้าตั้งแต่ 1
ทึกข้อมูล วันถัดไป โดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะจากหลอด
ผลการคัดกรองใน NCD เลือดด�า (FPG) และบันทึกข้อมูลลงแฟ้ม NCDSCREEN
screen กรณีต้อง - การติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ให้ได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับ
ตรวจซ�้าแบบอดอาหาร พลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการ
ตั้งแต่ 1 วันถัดไป สาธารณสุข สามารถตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป หลังจากวันที่คัดกรอง และเป็น
โดย FCBG ต้องลงข้อมูล ผู้สงสัยป่วยเบาหวาน (ภายใน 90 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวาน
แฟ้มใด หมายเหตุ : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัยภายใน 1-90 วัน
โดยไม่ต้องเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน
Q9 : ตรวจคัดกรอง A9 : สามารถคีย์ข้อมูลการคัดกรองในแฟ้ม NCDSCREEN และพิจารณาการนับผลงาน ดังนี้
RCBG / RPG - กรณีโรงพยาบาลตรวจครั้งแรกแล้วคีย์ข้อมูลในแฟ้ม NCDSCREEN นับการตรวจครั้งแรกเป็น
ที่โรงพยาบาล การคัดกรองได้เลย ถ้าค่าระดับน�้าตาล ≥110 mg/dl สามารถนัดมาตรวจซ�้าตามกระบวนการ
กรณีคนไข้ work in เข้า ของ template กรณีนี้นับเป็นผลงาน (กรณีกลุ่มเป้าหมายต้องติดตามอยู่ในเขตรับผิดชอบ
รับบริการ และเป็นกลุ่ม เท่านั้น)
เป้าหมายต้องติดตามแล้ว - กรณีคนไข้ walk in เข้ารับบริการ และเป็นกลุ่มเป้าหมาย รพ.สต. สามารถตรวจครั้งแรกที่โรง
นับเป็นผลงานหรือไม่ และ พยาบาล แล้วส่งข้อมูลให้ รพ.สต.ที่รับผิดชอบคีย์ในแฟ้ม NCDSCREEN ถ้าค่าระดับน�้าตาล
ต้องคีย์ข้อมูลอย่างไร ≥110 mg/dl สามารถนัดมาตรวจซ�้าตามกระบวนการของ template กรณีนี้นับเป็นผลงาน
- กรณีมีการตรวจคัดกรองและตรวจติดตามเพื่อการวินิจฉัยที่โรงพยาบาล คนไข้เป็นกลุ่มเป้าหมาย
ของจังหวัด จะไม่นับเป็นผลงานในระดับโรงพยาบาล แต่จะนับเป็นผลงานในระดับจังหวัด
- กรณีเคยท�า NCDSCREEN แล้ว (อาจจะได้รับการคัดกรองที่ รพ.สต.) มาตรวจอีกครั้งที่
โรงพยาบาลด้วยวิธี FCBG/FPG ระบบจะนับเป็นผลงานของสถานบริการที่รับผิดชอบ
Q10 : นิยามกลุ่มสงสัย A10 : ตามแนวทางการคัดกรองโรคเบาหวาน แนะน�าให้ใช้วิธีการตรวจคัดกรองวิธีใดวิธีหนึ่ง ได้แก่
ป่วยโรคเบาหวาน ใช้ค่า 1) การตรวจวัดพลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะจากหลอดเลือดด�า (Fasting Plasma Glucose, FPG)
RCBG/RPG ≥ 110 mg/ 2) การตรวจน�้าตาลในเลือดโดยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว (Fasting Capillary Blood Glucose, FCBG)
dl ใช่หรือไม่ และอยาก ในกรณีกลุ่มที่ไม่มีอาการเกี่ยวกับโรคเบาหวานคัดกรองโดยวิธี FCBG หรือ FPG และในกรณีกลุ่มที่มี
ทราบเหตุผลของค่า อาการเกี่ยวกับโรคเบาหวาน หากคัดกรองจากการที่ไม่อดอาหาร โดยวิธี RCBG หรือ RPG และมีค่า
ตัวเลขดังกล่าว ระดับน�้าตาล ≥110 mg/dl ยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
เนื่องจากค่าระดับน�้าตาลที่วัดได้มีโอกาสที่จะมีความคลาดเคลื่อน จึงต้องตรวจคัดกรองซ�้าตั้งแต่
1 วันถัดไป โดยวิธี FCBG หรือ FPG ตอนเช้าหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง หากมีค่าระดับน�้าตาล
≥ 126 mg/dl คือ กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และต้องตรวจยืนยันวินิจฉัยโดย FPG ทางห้อง
ปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข โดยสามารถตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป
หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัยป่วยเบาหวาน (ภายใน 90 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับ
โรคเบาหวาน
หมายเหตุ : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัยภายใน 1-90 วัน โดยไม่ต้อง
เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน การคัดกรองโรคเบาหวานแบบไม่ต้องอดอาหาร (RCBG/RPG)
กรณีค่าระดับน�้าตาล ≥ 110 mg/dl ถือว่าเป็นค่าที่ผิดปกติ หรือมีภาวะเสี่ยงก่อนเป็นเบาหวาน
จึงต้องได้รับการติดตามยืนยันวินิจฉัยตามแนวทางข้างต้น
Reference:
1. แนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวานส�าหรับโรคเบาหวาน 2560 หน้า 29
2. Random capillary blood glucose cut points for diabetes and pre-diabetes
derived from community based opportunistic screening in India.
3. Random Blood Glucose: A Robust Risk Factor For Type 2 Diabetes.
4. Random capillary plasma glucose measurement in the screening of diabetes
mellitus in high-risk subjects in Thailand.
NCD 32 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566