Page 45 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 45
2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง
Q1: กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง A1: ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562
ใช้ค่า 130 - 139/85 - 89 mmHg สามารถจ�าแนกระดับรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง (จากการวัดความดันโลหิต
แล้วกลุ่มความดันโลหิตปกติ ในคลินิก โรงพยาบาล หรือสถานบริการสาธารณสุขเป็นหลัก) ดังนี้
ใช้ค่าเท่าใด SBP DBP
Category
(mmHg) (mmHg)
Optimal < 120 และ < 80
Normal 120 - 129 และ/หรือ 80 - 84
High normal 130 - 139 และ/หรือ 85 - 89
Hypertension ระดับ 1 140 - 159 และ/หรือ 90 - 99
Hypertension ระดับ 2 160 - 179 และ/หรือ 100 - 109
Hypertension ระดับ 3 > 180 และ/หรือ ≥ 110
Isolated systolic > 140 และ < 90
hypertension (ISH)
Q2 : หากกลุ่มเสี่ยงโรคความดัน A2 : หากผู้ที่มารับบริการได้รับการตรวจคัดกรอง แล้วพบว่ามีค่าความดันโลหิต
โลหิตสูงจากปีที่ผ่านมา อยู่ในกลุ่ม High normal (SBP 130 - 139 และ/หรือ DBP 85 - 89 mmHg)
ได้รับการวัดความดันโลหิตด้วย และยังไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณที่ผ่านมา
ตนเองที่บ้าน (Home Blood จะถูกนับเป็นตัวหารในตัวชี้วัดฯ ดังกล่าวทั้งหมด
Pressure Monitoring : HBPM)
แล้ว พบว่ามีค่าความดันโลหิต
ปกติ จะถูกนับเป็นตัวหารด้วย
หรือไม่ (รายละเอียดในตัวชี้วัด :
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิต
สูงรายใหม่จากผู้ที่มีระดับ
ความดันโลหิต High normal
ที่ได้รับการติดตาม)
Q3 : ในกรณีผู้ป่วยเป็น A3 : หากได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณที่ผ่านมา แล้วพบว่า
โรคเบาหวานในปีงบประมาณ อยู่ในกลุ่ม High normal (SBP 130 - 139 และ/หรือ DBP 85 - 89 mmHg)
ที่ผ่านมา และได้รับการวินิจฉัย และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ในปีงบประมาณปัจจุบัน
เป็นโรคความดันโลหิตสูง จะถูกนับตามเงื่อนไขของตัวชี้วัด ฯ ไม่ว่าในปีงบประมาณที่ผ่านมาจะป่วย
ในปีงบประมาณปัจจุบัน จะถูกนับตาม ด้วยโรคอื่นมาแล้วก็ตาม สามารถศึกษารายละเอียดอื่นเพิ่มเติมได้ใน template
เงื่อนไขของตัวชี้วัดร้อยละของ ตัวชี้วัด
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่
จากผู้ที่มีระดับความดันโลหิต High
normal ที่ได้รับการติดตามหรือไม่
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 33 NCD
พ.ศ.�2563-2566