Page 48 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 48

Q12 : หน่วยบริการสาธารณสุข  A12 : บันทึกการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจวัดความดันโลหิตซ�้า
          ระดับปฐมภูมิ สามารถบันทึกข้อมูล  ในสถานบริการสาธารณสุขเดิมในแฟ้ม SERVICE ส�าหรับรหัสวินิจฉัย (ICD - 10)
          การตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วย  สามารถลงรหัส R03.0 ส�าหรับการติดตามได้ แต่การใช้ข้อมูลเพื่อตอบตัวชี้วัด
          โรคความดันโลหิตสูง ในแฟ้มใด  จะจับที่ค่าระดับความดันโลหิต ไม่ตัดที่การลงรหัสวินิจฉัย
          และใช้รหัสการวินิจฉัยอะไร
          Q13 : กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดัน A13 : ไม่ว่าจะบันทึกข้อมูลการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยด้วยวิธีการวัด
          โลหิตสูง ได้รับการตรวจติดตาม  ความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM) ใน HDC หรือบันทึกข้อมูลจากการวัดความ
          ยืนยันวินิจฉัยด้วยวิธีการวัด   ดันโลหิตซ�้าที่โรงพยาบาล (Second visit) ในแฟ้ม service ก็ถือเป็นการตรวจติดตาม
          ความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน   กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งสามารถน�ามาตอบตัวชี้วัดได้ แต่ในกรณี
          (HBPM) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน  การวินิจฉัย หากมีความขัดแย้งกันของผล HBPM กับผลการวัดในสถานบริการ
          และต้องเข้ารักษาการอาการป่วย  สาธารณสุข ให้ถือเอาผลของ HBPM เป็นส�าคัญ (อาจพิจารณาตรวจ ABPM เพิ่มเติม)
          ด้วยสาเหตุอื่นที่โรงพยาบาล จึงได้  เนื่องจาก HBPM สามารถท�านายการเกิดโรคแทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
          รับการวัดระดับความดันโลหิต กรณี ได้ดีกว่าการวัดความดันโลหิตในสถานบริการสาธารณสุข
          เช่นนี้ควรนับข้อมูลการตรวจติดตาม
          จากแหล่งใด



          3. Q & A ประเด็นอื่นๆ เพิ่มเติม

          Q1: เนื่องจากสถานการณ์  A1: หน่วยงานที่มีการด�าเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�าหนด สามารถวิเคราะห์ปัญหา
          การระบาดของโรค COVID-19   จุดอ่อน จุดแข็ง และโอกาสส�าหรับการพัฒนา เพื่อให้กองโรคไม่ติดต่อ ใช้ข้อมูลประกอบการ
          กองโรคไม่ติดต่อ มีแนวทาง  สนับสนุนการด�าเนินงานที่ตรงตามความต้องการ อาทิเช่น การพัฒนา Service Model,
          การคัดกรองและการด�าเนินงานอื่นๆ  นวัตกรรม, เทคโนโลยี Health station, Application, จัดบริการในรูปแบบ
          ที่ไม่บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด อย่างไร  New normal ที่ช่วยในการคัดกรองและการเข้าถึงบริการมากยิ่งขึ้น
          (โดยเฉพาะไตรมาสแรก ที่เจ้าหน้าที่
          ต้องปฏิบัติงานตอบโต้โรค COVID-19)
          Q2 : จะมีการปรับชื่อและนิยาม   A2 : กองโรคไม่ติดต่อจะจัดท�าหนังสือถึง HDC หลังได้ข้อสรุปจากการประชุมชี้แจงตัวชี้วัดเพื่อ
          ตัวชี้วัดใน Template ปี 2565 ของ  ก�ากับติดตามคุณภาพบริการการด�าเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ (โรคเบาหวานและ
          HDC ด้วยหรือไม่         โรคความดันโลหิตสูง) ปี 2565 วันที่ 23 กันยายน 2564 เพื่อปรับข้อมูลที่แสดงผล
                                  บนหน้าเว็บไซต์ HDC ให้เป็นปัจจุบัน




























   NCD       36   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53