Page 43 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 43

Q4 : ผู้ป่วยเบาหวาน ต่อ A4: ร้อยละ 8.9
               ประชากร คิดเป็นกี่ %  ที่มา : รายงานการส�ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 (พ.ศ.2557)
               Q5: ปี 2565 การคัด  A5: ในปี 2565 การคัดกรองโรคเบาหวานแบบอดอาหารยังคงใช้เกณฑ์เดิม แต่แบบไม่อด
               กรองเบาหวานแบบอด   อาหารมีการปรับเกณฑ์ รายละเอียดดัง Flowchart แนวทางการคัดกรองโรคเบาหวาน ปี 2565
               อาหาร และไม่อดอาหาร
               ใช้เกณฑ์เดิมหรือไม่



















                                  ทั้งนี้จากข้อมูลการคัดกรองปี 2564 พบว่าการอดอาหารมากกว่าไม่อดอาหาร (การตรวจ
                                  คัดกรองแบบไม่อดอาหารประมาณ 12%) แต่ในปี 2565 การตรวจคัดกรองแบบไม่อดอาหาร
                                  (RCBG/RPG) หากมีค่า ≥ 110 mg/dl ต้องตรวจคัดกรองซ�้าตั้งแต่ 1 วันถัดไป โดยวิธี (FCBG /
                                  FPG) จึงแนะน�าให้ตรวจโดย (RCBG/RPG) เป็นอันดับแรกก่อนเพื่อลดขั้นตอน
               Q6 : การคัดกรองผู้ป่วย  A6: ในผู้ป่วยเบาหวานการประเมินภาวะแทรกซ้อนทางไตใช้ทั้งการจุ่มปัสสาวะดู albumin -
               เบาหวานตรวจาวะ     microalbuminuria หรือ macroalbuminuria ก็ได้ และตรวจเลือดดูค่า eGFR ด้วย
               แทรกซ้อนทางไตต้อง  ไม่จ�าเป็นต้องตรวจวันเดียวกัน แต่ต้องตรวจภายในปีงบประมาณ
               ตรวจ urine protein
               และ serum Creatinine
               ควรตรวจทั้งเลือดและ
               ปัสสาวะภายในวัน
               เดียวกันหรือไม่
               Q7 : ขอค�าอธิบายเพิ่ม  A7 : ตัวชี้วัดการคัดกรอง ช่วงอายุที่ใช้ในการด�าเนินงานคือประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งนี้เพื่อ
               เติมในการคัดกรองตาม  ให้พื้นที่สามารถดูข้อมูลช่วงอายุ 35-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยท�างานและเป็นกลุ่มอายุที่มีความเสี่ยง
               ช่วงอายุกลุ่มเป้าหมายตัว เข้าถึงการรับบริการได้น้อย จึงแยกข้อมูลกรณีวัยท�างานให้พื้นที่สามารถใช้ติดตามเพื่อวางแผน
               ชี้วัดการคัดกรอง   การด�าเนินงานและประเมินผลการด�าเนินงานได้
               1. ร้อยละของประชากร  - เหตุผลการปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น.... “ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย” เนื่องจากเดิมการคัดกรอง
               อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการ ที่ด�าเนินงานพบว่ายังไม่สิ้นสุดกระบวนการของการคัดกรอง เช่น ยังไม่ได้น�ากลุ่มสงสัยป่วย
               คัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบา  ไปติดตามเจาะเลือดตามแนวทางเพื่อวินิจฉัย ดังนั้น ต้นปีงบประมาณการคัดกรองได้กลุ่มปกติ
               หวาน               กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มป่วย แต่ปลายปีงบประมาณควรเหลือกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง
               2. ร้อยละประชากรอายุ  กลุ่มป่วย เท่านั้น
               35-59 ปีขึ้นได้ได้รับ
               การคัดกรองเพื่อวินิจฉัย
               เบาหวาน







                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  31  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48