Page 46 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 46

Q4 : การท�า Ambulatory   A4 : Ambulatory blood pressure monitoring (ABPM) เป็นเครื่องวัดความดัน
          blood pressure monitoring   โลหิตชนิดติดตัวพร้อมวัดอัตโนมัติ ที่สามารถป้อนค�าสั่งล่วงหน้าให้เครื่องท�าการ
          (ABPM) และ Office blood   วัดความดันโลหิตเองเป็นระยะตามที่ก�าหนด โดยทั่วไปแนะน�าให้วัดความดันโลหิต
          pressure measurement     ทุก 15 - 30 นาที และติดตามค่าความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง เป็นเวลา 24 - 48 ชั่วโมง
          (OBPM) มีความแตกต่างกัน  แล้วน�าข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ยของความดันโลหิตในขณะตื่นและขณะนอนหลับ
          อย่างไร                  ส่วน Office blood pressure measurement (OBPM) เป็นการวัด
                                   ความดันโลหิตในสถานบริการสาธารณสุข
                                          โดยค่าความดันโลหิตที่ได้จากการวัด ABPM จะต�่ากว่าค่าที่ได้จากการวัด
                                   แบบ OBPM ดังนั้น จึงมีเกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงที่ต่างกัน
                                   รายละเอียดดังนี้

                                    วิธีการวัดความดันโลหิต    SBP                    DBP
                                                            (mmHg)                 (mmHg)

                                    การวัดความดันโลหิต        ≥ 140     และ/หรือ      ≥ 90
                                    ในสถานพยาบาล
                                    การวัดความดันโลหิต        ≥ 135     และ/หรือ     ≥ 85
                                    ด้วยเครื่องชนิดพกพาที่บ้าน
                                    การวัดความดันโลหิตด้วยเครื่องชนิดติดตัวพร้อมวัดอัตโนมัติ
                                    ความดันโลหิตเฉลี่ย        ≥ 135     และ/หรือ      ≥ 85
                                    ในช่วงกลางวัน
                                    ความดันโลหิตเฉลี่ย        ≥ 120     และ/หรือ      ≥ 70
                                    ในช่วงกลางคืน

                                    ความดันโลหิตเฉลี่ยทั้งวัน   ≥ 130   และ/หรือ      ≥ 80

          Q5 : การวัดความดันโลหิต   A5 : การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM) เพื่อวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
          ด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM) เพื่อ  ควรวัดติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
          วินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง    ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย
          ควรวัดอย่างน้อยกี่วัน
          Q6 : ในกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดัน A6 : พิจารณาจากช่วงที่นอนหลับยาวนานที่สุด โดยควรวัดความดันโลหิตครั้งที่ 1
          โลหิตสูง ที่มีกิจวัตรประจ�าวัน   ภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากตื่นนอน และครั้งที่ 2 ควรวัดก่อนเข้านอน
          หรือช่วงเวลานอนที่แตกต่างจาก
          ช่วงเวลาปกติ และต้องได้รับ
          การติดตามยืนยันวินิจฉัยด้วยวิธี
          การวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง
          ที่บ้าน (HBPM) ควรใช้ช่วงเวลาใด
          ในการวัดความดันโลหิต
          วันละ 2 ช่วงเวลา
          Q7 : หากวัดความดันโลหิต   A7 : ผู้ที่มารับบริการฉีดวัคซีน COVID - 19 ที่ได้รับการวัดความดันโลหิต
          ก่อนฉีดวัคซีน COVID - 19   ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ฯ แล้วพบว่ามีค่า ≥ 180/110 mmHg
          แล้วพบว่ามีค่าความดันโลหิตสูง  ควรให้นั่งพักเป็นเวลา 5 นาที และวัดความดันโลหิตซ�้า หากยังคงสูงอยู่ ควรรีบ
          ≥ 180/110 mmHg           พบแพทย์ เพื่อตรวจหลักฐานว่ามี Acute target - organ damage หรือไม่
          แพทย์สามารถวินิจฉัย      และพิจารณาวินิจฉัยต่อไป เนื่องจากอาจเป็นความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน ซึ่งมีอันตราย
          โรคความดันโลหิตสูงได้เลยหรือไม่ ถึงชีวิตได้



   NCD       34   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51