Page 39 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 39

ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
                                       ของ NCD Clinic Plus ปี 2563-2566

                         ตัวชี้วัดที่ใช้วัดผลการด�าเนินงานของ NCD Clinic Plus มีทั้งหมด 13 ตัว ดังนี้
                                                                               เป้าหมาย

                                       รายการ                                  (ร้อยละ)
                                                                      2563   2564   2565  2566
               1.  ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน  ≥30  >60  >67  >70

               2.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100  ≥60  >60  -
                 mg/dl
               ปรับใหม่เป็น  1)  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL    ≥65   ≥65
                         2)  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และ   ≥55    ≥55
               มีค่า LDL < 100 mg/dl
               3.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้ดี   ≥40  >40  >40  >40
               4.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์  ≥60  >60  >60  >60

               5.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน [BMI ≥25 กก./ตร.ม. ] ลดลงจาก  ≥10  >5  >5  >5
                 งบประมาณที่ผ่านมา

               6.  ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน  ≤2  <2     ≤2    ≤2
               7.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง (ตัดออกปี 65)    ≥5     >5     -      -

               8.  ร้อยละการติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง   ≥60  >70  >70  >93
               9.  ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิต > 180/110 mmHg จากการคัดกรองได้รับ  -  -  > 80  >25
                 การวินิจฉัย (ปี 65) ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP)
                 ≥ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110
                 mmHg จากการวัดความดันโลหิตซ�้าในโรงพยาบาล และได้รับการวินิจฉัย
                 โรคความดันโลหิตสูงภายใน 7 วัน (ปี 66)
               10. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี  ≥50  >60  >60  >60

               11. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหา  ≥80  >80  >80  >80
                 และคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
               12. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥  ≥40  >40  >40  >40
                 20% ในช่วงไตรมาส 1, 2 และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20%
                 ในไตรมาส 3, 4
               13. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่เป็น CKD 3-4  >50  >50  >69  >69
                  ชะลอการลดลงของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย
              หมายเหตุ ในแต่ละปีมีการปรับเป้าหมาย และปรับเปลี่ยนบางตัวชี้วัดเพื่อให้เป็นไปตามทิศทาง นโยบาย

              และพัฒนาคุณภาพบริการ





                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  27  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44