Page 35 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 35
ชื่อตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
1.3 ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับ - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของประชากรกลุ่ม Pre-DM
ผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน�้าตาลซ�้า (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับ
การตรวจน�้าตาลซ�้า
- ปรับนิยาม กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ที่ได้รับ
การตรวจน�้าตาลซ�้า หมายถึง ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ในเขตรับผิดชอบ ที่มีค่าระดับน�้าตาลในเลือดหลังอดอาหาร
อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 100 -125 mg/dl ของปีที่ผ่านมา
ที่ได้รับการตรวจระดับน�้าตาลในเลือดซ�้า
1.4 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่ม
จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมา (Pre-DM) Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ปีที่ผ่านมา
- ปรับนิยาม กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) หมายถึง
ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่มีค่าระดับน�้าตาลในเลือดหลังอด
อาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง 100-125 mg/dl ในปีที่ผ่านมา
ในเขตรับผิดชอบ
1.5 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย - ปรับเป้าหมาย จากเดิม ≥ 67 % เป็น ≥ 70 %
กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน - ปรับหมายเหตุ ในค�านิยามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
1.6 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย - ปรับระยะเวลาการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย
ที่ได้รับการตรวจยืนยัน จากเดิม 90 วันเป็น 180 วัน
- ปรับหมายเหตุ ในค�านิยามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
2. โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย
2.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 - 59 ปีที่ได้รับการ - ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 87 %
คัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง จากเดิมปี 65 เป้าหมาย ≥ 80 %
2.2 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย - ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 93 %
กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จากเดิม ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80 %
2.3 ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิต ≥ 180/110 mmHg - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิต
จากการคัดกรอง ได้รับการวินิจฉัย ตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ
ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg จากการ
วัดความดันโลหิตซ�้าในโรงพยาบาล และได้รับการวินิจฉัย
โรคความดันโลหิตสูง
- ปรับนิยามตัวชี้วัด
การวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุข หมายถึง
ประชากรในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองความดัน
โลหิตสูง และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP)
≥ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิต
ตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg ได้รับการวัดความดันโลหิตซ�้า
ในสถานบริการสาธารณสุข
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 23 NCD
พ.ศ.�2563-2566