Page 32 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 32
ตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
2.6 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(เป้าหมาย ≥ 90%)
2.7 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น อัตราป่วยรายใหม่ของ
ต่อประชากร โรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรต่อปีงบประมาณ
2.8 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุม - ปรับนิยาม : ผู้ป่วย HT ที่มีระดับความดันโลหิตครั้งสุดท้าย
ระดับความดันโลหิตได้ดี (เป้าหมาย ≥ 60%) < 140 และ 90 mmHg จากการตรวจที่สถานบริการสาธารณสุข
ในช่วงปีงบประมาณ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมี
โรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่
ตัวชี้วัดเพิ่มใหม่
2.9 ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิต ≥ 180/110 mmHg จากการคัดกรองได้รับการวินิจฉัย
2.10 ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg ได้รับการลงรหัส R03.0 และ/หรือ
ได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล ในวันนั้น
(ตัวชี้วัดใหม่ Hospital BP ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80%)
2.11 ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วย
โรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล
(ตัวชี้วัดใหม่ Hospital BP ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80%)
2.12 ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg ที่ได้รับการลงรหัส R03.0
และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล
(ตัวชี้วัดใหม่ Hospital BP ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80%)
ตัวชี้วัดพิจารณาตัดออก
2.13 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
NCD 20 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566