Page 27 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 27

ตัวชี้วัดเพื่อก�ากับติดตามคุณภาพบริการการด�าเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ
                            (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565



                     ตัวชี้วัดเพื่อก�ากับติดตามคุณภาพบริการการด�าเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ (โรคเบาหวานและ
              โรคความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ�านวน 38 ตัวชี้วัด ครอบคลุมกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง
              กลุ่มสงสัยป่วยและกลุ่มป่วย สรุปรายละเอียดตัวชี้วัด ดังนี้

                     1. ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน จ�านวน 21 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น
                       1.1 กลุ่มปกติ ประกอบด้วย
                            (1)  ตัวชี้วัดร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน
              (เป้าหมาย ≥ 90%)
                            (2)  ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปี ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน

              (เป้าหมาย ≥ 80%)
                       1.2  กลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย
                            (3) ตัวชี้วัดร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับ

              การตรวจน�้าตาลซ�้า (เป้าหมาย ≥ 90%)
                            (4)  ตัวชี้วัดร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (เป้าหมาย ≤1.75%)
                        1.3  กลุ่มสงสัยป่วย ประกอบด้วย
                            (5) ตัวชี้วัดร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน (เป้าหมาย ≥ 67%)
                            (6)  ตัวชี้วัดร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจยืนยัน

                       1.4 กลุ่มป่วย ประกอบด้วย
                            (7)  อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
                            (8)  ตัวชี้วัดร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับการตรวจติดตามและรักษา

              ที่เหมาะสม (เป้าหมาย ≥ 90%)
                            (9) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง (เป้าหมาย ≥ 5%)
                            (10) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้ดี (เป้าหมาย ≥ 40%)
                            (11) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์ (เป้าหมาย ≥ 60%)
                       1.5 ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย

                            (12) ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน (เป้าหมาย ≤ 2%)
                            (13) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (เป้าหมาย ≥ 60%)
                            (14) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน

              ทางไต (เป้าหมาย ≥ 60%)
                            (15) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต (เป้าหมาย ≥ 60%)
                            (16) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (เป้าหมาย ≥ 60%)





                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  15  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32