Page 24 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 24

ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ปี 2564
                  มีทั้งหมด 9 ตัว คงเดิมไว้ไม่ปรับรายละเอียด 6 ตัวชี้วัด ปรับรายละเอียด 2 ตัวชี้วัดและพิจารณาเพิ่ม

           1 ตัวชี้วัด ดังนี้
                  ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูงที่คงเดิมไว้ไม่ปรับรายละเอียด จ�านวน 6 ตัว
                  1  ) ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
                  2  อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
                  3  ) ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากผู้สงสัยป่วย (ท�า Home BP)
                  4  ) อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
                  5  ) อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากร
                  6  ) ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

                  ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูงที่ปรับรายละเอียด จ�านวน 2 ตัว
                  1) ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูง
                  2  ) ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
                  ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูงที่พิจารณาเพิ่ม จ�านวน 1 ตัว
                  1  ) ร้อยละของประชากรอายุ 35 -59 ปีที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง



           ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
           ปี 2564 มีทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด คงเดิมไว้ ไม่ปรับรายละเอียดทั้งหมด ดังนี้
                  1  ) ร้อยละของผู้ป่วย DM,HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ
           หลอดเลือด (CVD Risk)
                  2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรอง
           โรคไตเรื้อรัง
                  3) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/ARB

                  4) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20% ในช่วงไตรมาส 1, 2
           และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3, 4
                  5) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลงของ
           eGFR ได้ตามเป้าหมาย






















   NCD       12   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29