Page 21 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 21
ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูงที่ปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและรายละเอียดส่วนแสดงผลหน้า HDC จ�านวน 3 ตัว
1) ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
2) ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูง
3 ) อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
ปี 2563 มีทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด คงเดิมไว้ ไม่ปรับรายละเอียดทั้งหมด ดังนี้
1 ) ร้อยละของผู้ป่วย DM,HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือด (CVD Risk)
2 ) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรอง
โรคไตเรื้อรัง
3 ) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/ARB
4 ) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20% ในช่วงไตรมาส 1, 2
และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3, 4
5 ) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลงของ
eGFR ได้ตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ที่มีการปรับเปลี่ยน ปี 2563 ดังนี้
ชื่อตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
1. โรคเบาหวาน (DM)
กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> การคัดกรอง
1.1 การคัดกรองเบาหวาน ในประชากรไทย ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น “การคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย
จ�าแนกกลุ่มอายุ จ�าแนกตามอายุ และเพศ”
1.2 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ปรับนิยามการจ�าแนกตามกลุ่มปกติ/เสี่ยง/สงสัยป่วย
และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน กรณีตรวจน�้าตาลในเลือดหลังอดอาหาร
ปกติ หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 70 ถึง < 100 mg/dl
เสี่ยง หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 100 ถึง < 126 mg/dl
สงสัยป่วย หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 126 mg/dl
กรณีตรวจน�้าตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร
ปกติ หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 70 ถึง < 110 mg/dl
เสี่ยง หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 110 ถึง < 200 mg/dl
สงสัยป่วย หมายถึง ระดับน�้าตาลในเลือด 200 mg/dl
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 9 NCD
พ.ศ.�2563-2566