Page 22 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 22
ชื่อตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD DM, HT, CVD)
1.3 ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับนิยามของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลได้ดี
ที่ควบคุมระดับน�้าตาลได้ดี หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีโรคร่วม ที่มีค่าระดับน�้าตาลในเลือด
HbA1c ครั้งสุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ 7 หรือ ผู้ป่วยเบาหวาน
ที่มีโรคร่วม* ที่มีค่าระดับน�้าตาลในเลือด HbA1c ครั้งสุดท้ายน้อย
กว่าร้อยละ 8
*หมายเหตุ : รหัส ICD10 ที่เป็นโรคร่วม ได้แก่
1. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ร่วมกับ
รหัสโรคหัวใจขาดเลือด I20-I25
2. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ร่วมกับ
รหัสโรคหัวใจล้มเหลว I50
3. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ร่วมกับ
รหัสโรคหลอดเลือดสมอง I60-I69
4. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ร่วมกับ
รหัสโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 N18.4-N18.5
5. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ร่วมกับ
รหัสโรคลมชักและโรคลมชักชนิดต่อเนื่อง G40-G41
1.4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะ ปรับเพิ่มผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (ปกติ/ไม่ปกติ)
แทรกซ้อนทางตา
1.5 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะ ปรับเพิ่มผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (ปกติ/ไม่ปกติ)
แทรกซ้อนทางเท้า
1.6 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน (ตัวชี้วัดใหม่)
1.7 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจยืนยัน (ตัวชี้วัดใหม่)
2. โรคความดันโลหิตสูง (HT)
2.1 ประชากร 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง
- ปรับนิยามการจ�าแนกตามกลุ่มปกติ/เสี่ยง/สงสัยป่วย ปรับนิยามการจ�าแนกตามกลุ่มปกติ/เสี่ยง/สงสัยป่วย
กลุ่มปกติ หมายถึง SBP <130 mmHg และ DBP < 80 mmHg
กลุ่มเสี่ยง หมายถึง SBP = 130-139 mmHg และ/หรือ
DBP = 80-89 mmHg
กลุ่มสงสัยป่วย หมายถึง SBP = 140-179 mmHg และ/หรือ
DBP = 90-109 mmHg
หมายเหตุ : ผู้ที่มีค่าความดันโลหิต SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ
DBP ≥ 110 mmHg ให้ส่งพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยทันที
- การคัดกรองความดันโลหิตสูง ในประชากรไทย ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น “การคัดกรองความดันโลหิตสูง
จ�าแนกกลุ่มอายุ ในประชากรไทย จ�าแนกตามอายุ และเพศ”
2.2 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วย ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น “ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วย
โรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูง”
2.3 อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ปรับนิยามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง หมายถึง
ความดันโลหิตสูง SBP = 130-139 mmHg และ/หรือ DBP = 80-89 mmHg
NCD 10 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566