Page 25 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 25

ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
                                            ที่มีการปรับเปลี่ยน ปี 2564

                              ชื่อตัวชี้วัด                        รายละเอียดที่ปรับแก้

               1. โรคเบาหวาน (DM)
               ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย

               1.1 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน  ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ ร้อยละ 60
               1.2 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง   ปรับเป้าหมาย เป็น ≤ ร้อยละ 50
               [รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง (ซม.)/2)]


               1.3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน   ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ ร้อยละ 5
               (BMI ≥ 25 กก./ตร.ม.) ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา
               1.4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุม ปรับชื่อตัวชี้วัด เป็น
               ได้ตามเกณฑ์                            “ร้อยละของผู้ป่วย เบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้
               (ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ 60)              ตามเกณฑ์” แบ่งเกณฑ์เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
               (เดิม : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มี   1) อายุ < 60 ปี และไม่เป็นโรค CKD ความดันโลหิต
               ความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg)      น้อยกว่า 130/80 mmHg
                                                       2) อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และไม่เป็นโรค CKD ความดัน
                                                      โลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg
                                                       3) ทุกกลุ่มอายุ และเป็น CKD ระยะ 1-4 ความดันโลหิต
                                                      น้อยกว่า 130/80 mmHg

               ตัวชี้วัดเพิ่มใหม่
               1.5 ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน (ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ 60)
               - ด�าเนินการคัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปเหมือนปีที่ผ่านมา
               - เป้าหมายผลลัพธ์การด�าเนินงาน คิดจากอายุ 35-59 ปี
               1.6 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

               ตัวชี้วัดพิจารณาตัดออก
               1.7 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง [รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง (ซม.)/2)] ลดลงจาก
               งบประมาณที่ผ่านมา
               2. โรคความดันโลหิตสูง

               ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย
               2.1 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ดี  - ปรับรายละเอียด ดังนี้
               (ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ 60)              - ปรับค�านิยามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ดี
                                                      หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิต
                                                      ครั้งสุดท้าย < 140/90 mmHg ในช่วงปีงบประมาณ
                                                      ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วย
                                                      หรือไม่
                                                      - ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ ร้อยละ 60


                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  13  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30