Page 29 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 29

(11) ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg
              และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล (ตัวชี้วัดใหม่

              Hospital BP ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80%)
                            (12) ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg
              ที่ได้รับการลงรหัส R03.0 และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหา
              ในโรงพยาบาล (ตัวชี้วัดใหม่ Hospital BP ปี 65 เป้าหมาย ≥ 80%)


                     3.  ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง จ�านวน 5 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
                       1.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง
              ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (เป้าหมาย ≥ 90%)

                       2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20% ในช่วง
              ไตรมาส 1, 2 และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3, 4 (เป้าหมาย ≥ 40%)
                       3. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรอง
              โรคไตเรื้อรัง (เป้าหมาย ≥ 80%)
                       4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/
              ARB (เป้าหมาย ≥ 60%)

                       5.  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลง
              ของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย (เป้าหมาย ≥ 69%)


                ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
                                            ที่มีการปรับเปลี่ยน ปี 2565

                             ตัวชี้วัด                           รายละเอียดที่ปรับแก้

               1. โรคเบาหวาน
               ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย
               1.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป  ปรับค่าระดับน�้าตาลแต่ละกลุ่มในการประมวลผล และหมายเหตุ
               ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน   ในระบบ HDC ดังนี้

               1.2 ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีที่  ตรวจน�้าตาลโดยอดอาหาร
               ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน    กลุ่มปกติ หมายถึง ระดับน�้าตาล ≥70 ถึง < 100mg%
                                                   กลุ่มเสี่ยง หมายถึง ระดับน�้าตาล ≥100 ถึง <126mg%
                                                   กลุ่มสงสัยป่วย หมายถึง ระดับน�้าตาล ≥ 126 mg%
                                                  ตรวจน�้าตาลโดยไม่อดอาหาร
                                                   กลุ่มปกติ หมายถึง ระดับน�้าตาล ≥ 70 ถึง <109 mg%
                                                   กลุ่มเสี่ยง หมายถึง ระดับน�้าตาล ≥ 110 mg%
                                                  - Update Template ในระบบ HDC ใหม่








                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  17  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34