Page 31 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 31
ตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
1.9 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง - ปรับชื่อจาก อัตรา เป็น ร้อยละ
[รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง (ซม.)/2)] - ปรับเป้าหมาย เป็น ≤ 60 %
- แก้ไขวิธีการจัดเก็บข้อมูล และแหล่งข้อมูล
- Update Template ในระบบ HDC ใหม่
1.10 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน - ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ 55 %
LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl - เพิ่มตาราง Dummy ใหม่
- Update Template ในระบบ HDC ใหม่
ตัวชี้วัดที่เพิ่มใหม่
1.11 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL
1.12 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต
1.13 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต
ตัวชี้วัดที่ตัดออก
1.13 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุงจากปีที่ผ่านมา
2. โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย
2.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับ - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
การคัดกรองความดันโลหิตสูง (เป้าหมาย ≥ 90%) ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง
2.2 ร้อยละของประชากรอายุ 35 - 59 ปี ที่ได้รับ - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของประชากรอายุ 35 - 59 ปีขึ้นไป
การคัดกรองความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง
- ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ 80%
2.3 อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่
ความดันโลหิตสูง จากผู้ที่มีระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์เกือบสูง (กลุ่มเสี่ยง
ความดันโลหิตสูง)
2.4 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วย - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่ม
โรคความดันโลหิตสูง สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ 80%
(ควรด�าเนินการท�า HBPM อย่างน้อยร้อยละ 60)
- ปรับนิยามการได้รับการตรวจติดตาม ใช้ 2 วิธีอย่างใด
อย่างหนึ่ง คือ 1) การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM)
ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน และ 2)การวัดความดันโลหิตซ�้า
ที่สถานบริการสาธารณสุขเดิม (ภายใน 90 วัน)
2.5 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ - ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่
จากผู้สงสัยป่วย (ท�า Home BP) จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม
(วัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM) หรือตรวจวัดความดัน
โลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุขเดิม)
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 19 NCD
พ.ศ.�2563-2566