Page 34 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 34

(3)  ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม
           (HBPM หรือ OBPM)

                    (4) อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
                    (5) ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
                    (6) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (เป้าหมาย ≥ 60%)
                    ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน และ/หรือ โรคความดันโลหิตสูง คงเดิม 5 ตัว ดังนี้
                    (1) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
           โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
                    (2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20% ในช่วง
           ไตรมาส 1, 2 และมีผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3, 4

                    (3) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือ โรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและ
           คัดกรองโรคไตเรื้อรัง
                    (4)  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา
           ACEi/ARB
                    (5) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลง
           ของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย



            ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
                                        ที่มีการปรับเปลี่ยน ปี 2566

                           ชื่อตัวชี้วัด                        รายละเอียดที่ปรับแก้
           1. โรคเบาหวาน
           ตัวชี้วัดที่ปรับรายละเอียด/ชื่อ/เป้าหมาย
           1.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการ   - ปรับ Flow แนวทางการคัดกรองโรคเบาหวาน
           คัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน                l  ปรับระยะเวลาการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยจากเดิม
                                                   90 วันเป็น 180 วัน
                                                      l  ปรับชื่อ จากกลุ่มเสี่ยง เป็นกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อน
                                                   เบาหวาน)
                                                      l  ปรับหมายเหตุ
           1.2 ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีขึ้นไปที่ได้รับการ - ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 87 %
           คัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน             จากเดิมปี 65 เป้าหมาย ≥ 80 %
                                                   - ปรับ Flow แนวทางการคัดกรองโรคเบาหวาน
                                                      l  ปรับระยะเวลาการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยจากเดิม
                                                   90 วันเป็น 180 วัน
                                                      l  ปรับชื่อ จากกลุ่มเสี่ยง เป็นกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อน
                                                   เบาหวาน)
                                                      l  ปรับหมายเหตุ




   NCD       22   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39