Page 33 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 33

ตัวชี้วัดเพื่อก�ากับติดตามคุณภาพบริการการด�าเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ
                         (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


                     ตัวชี้วัดที่ด�าเนินการในปีงบประมาณ 2566 จ�านวน 35 ตัว ประกอบด้วย ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน
              จ�านวน 21 ตัว ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูงจ�านวน 9 ตัว และตัวชี้วัดเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง
              จ�านวน 5 ตัว รายละเอียดดังนี้

                     1. ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน ที่คงเดิมไว้ ไม่ปรับรายละเอียดและไม่ปรับเป้าหมาย จ�านวน 15 ตัว
              ดังนี้
                       (1)  อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
                       (2)  ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง (เป้าหมาย ≥ 5%)
                       (3)  ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับการตรวจติดตามและรักษาที่เหมาะสม
              (เป้าหมาย ≥ 90%)
                       (4) ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง [รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง (ซม.)/2)] (เป้าหมาย ≤ 60%)

                       (5) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน [BMI ≥ 25 กก./ตร.ม.] ลดลงจากปีงบประมาณ
              ที่ผ่านมา (เป้าหมาย ≥ 5%)
                       (6) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี (เป้าหมาย ≥ 70%)
                       (7) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้ดี (เป้าหมาย ≥ 40%)
                       (8) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์ (เป้าหมาย ≥ 60%)
                       (9) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL (เป้าหมาย ≥ 65%)
                       (10) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl
              (เป้าหมาย ≥ 55%)
                       (11) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (เป้าหมาย ≥ 60%)

                       (12) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (เป้าหมาย ≥ 60%)
                       (13) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน
              ทางไต (เป้าหมาย ≥ 60%)
                       (14) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต (เป้าหมาย ≥60%)
                       (15) ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน (เป้าหมาย ≤ 2%)


                     2.  ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูง ที่คงเดิมไว้  ไม่ปรับรายละเอียดและไม่ปรับเป้าหมาย

              จ�านวน 6 ตัว ดังนี้
                       (1) ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
              (เป้าหมาย ≥ 90%)
                       (2) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากผู้ที่มีระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์
              เกือบสูง (กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง)







                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  21  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38