Page 38 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 38
การปรับเปลี่ยนรายละเอียด
ชื่อตัวชี้วัด
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566
5. ร้อยละการ 1.กลุ่มสงสัยป่วย 1. ปรับเป้าหมาย 1. ปรับชื่อตัวชี้วัดเป็น - ปรับเป้าหมาย
ตรวจติดตามยืนยัน โรคความดันโลหิตสูง ≥ ร้อยละ 70 ร้อยละการตรวจติดตาม ≥ร้อยละ 93
วินิจฉัยกลุ่มสงสัย หมายถึง ประชากรอายุ 2. ระยะเวลา 120 วัน ยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัย
ป่วยโรคความดัน 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการ ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
โลหิตสูง คัดกรองความดันโลหิตสูง 2. ปรับเป้าหมายเดิม
และมีค่าระดับความดัน ≥ 70% (ควรด�าเนินการ
โลหิตตัวบน (SBP) ท�า HBPM อย่างน้อย
ในช่วง 140-179 mmHg ร้อยละ 60)
และ/หรือค่าระดับ 3. ปรับนิยามการได้รับ
ความดันโลหิตตัวล่าง (DBP) การตรวจติดตาม
ในช่วง 90-109 mmHg ใช้ 2 วิธีอย่างใดอย่างหนึ่ง
ในเขตรับผิดชอบ คือ 1) การวัดความดัน
และยังไม่ได้รับการวินิจฉัย โลหิต (HBPM) ติดต่อกัน
โรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อย 7 วัน และ
ในปีงบประมาณ 2) การวัดความดันโลหิตซ�้า
2. การได้รับการติดตาม ที่สถานบริการ
หมายถึง การตรวจวัด สาธารณสุขเดิม
ความดันโลหิตซ�้าที่บ้าน (ภายใน 90 วัน)
ตามแนวทางการวัด
ความดันโลหิตที่บ้าน
3. เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 52
ตัวชี้วัดการติดตามประเมินผลการด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ของ Service Plan NCD ปี 2563-2566 มีดังนี้
ชื่อตัวชี้วัด 2563 2564 2565 2566
1.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย -
ปีที่ผ่านมา (Pre-DM /ภาวะก่อนเบาหวาน) ≤1.95% ≤1.85% ≤1.75%
2. ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้าตาลได้ดี เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย
≥40% ≥40% ≥40% ≥40%
3. ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุม เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย
ระดับความดันโลหิตได้ดี ≥ 50% ≥ 60% ≥ 60% ≥ 60%
(2 ครั้ง (1 ครั้ง (1 ครั้ง (1 ครั้ง
สุดท้าย) สุดท้าย) สุดท้าย) สุดท้าย)
หมายเหตุ ตัวชี้วัด DM HT ที่ใช้วัดผลการด�าเนินงานใน Service Plan NCD ส่วนมากจะคงเดิม
เนื่องจากผลการด�าเนินงานยังไม่บรรลุตามเป้าหมายแต่มีแนวโน้มที่ดีขึ้น โดยเฉพาะร้อยละผู้ป่วยโรคความดัน
โลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
NCD 26 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566