Page 26 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 26
ชื่อตัวชี้วัด รายละเอียดที่ปรับแก้
2.2 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วย ปรับเป้าหมาย เป็น ≥ ร้อยละ 70
โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดเพิ่มใหม่
2.3 ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง (ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ 60)
- ด�าเนินการคัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปเหมือนปีที่ผ่านมา
- เป้าหมายผลลัพธ์การด�าเนินงาน คิดจากอายุ 35-59 ปี
ข้อสังเกต
1. การคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปีขึ้นไป ยังคงก�าหนดเป้าหมายเท่าเดิม คือ
≥ ร้อยละ 90 แต่การคิดผลลัพธ์การด�าเนินงานในปี 2564 คิดจาก อายุ 35-59 ปี เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 60
เนื่องจากเน้นที่กลุ่มวัยท�างานมากขึ้นส่วนอายุ 60 ปี ขึ้นไป ก็ยังต้องคัดกรองอยู่
2. ข้อมูลรายงานใน HDC มีรายงานทั้งการคัดกรองอายุ 35 ปีขึ้นไป และอายุ 35-59 ปี โดยสามารถ
เข้าดูได้ในเมนู กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD DM,
HT, CVD)
3. การวัดความดันโลหิตครั้งสุดท้าย หมายถึง เดือนใดก็ได้ที่เป็นการวัดความดันโลหิตครั้งสุดท้าย
ในปีงบประมาณ (ค่าสุดท้ายที่ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล)
4. นิยามความดันโลหิตควบคุมได้ดี หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิต
ครั้งสุดท้าย SBP < 140 mmHg และ DBP < 90 mmHg ในช่วงปีงบประมาณ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดัน
โลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่
NCD 14 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566