Page 52 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 52

Q18: คัดกรองโรคเบาหวาน พบ  A18: ปีงบประมาณ 2565 ไม่นับเป็นผลงานตามตัวชี้วัดร้อยละการตรวจติดตามยืนยัน
          ว่าระดับน�้าตาลในเลือดสูง ถ้าไม่  วินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน เนื่องจากกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ต้องได้รับ
          ติดตามยืนยันวินิจฉัยด้วยวิธี FPG  การตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า
          แต่ยืนยันการวินิจฉัยด้วยการ  8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข โดยสามารถตรวจ
          ตรวจ OGTT จะขึ้นเป็นผลงาน  ติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัยป่วย
          หรือไม่                 เบาหวาน (ภายใน 90 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวาน 2560 แต่ใน
                                  ปีงบประมาณ 2566 วางแผนว่าจะใช้การตรวจโดยวิธี OGTT ในการคัดกรองและ
                                  วินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
          Q19: Thailand Hospital   A19: ผู้ปฏิบัติงานสามารถดึงข้อมูลไปใช้ได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการน�า
          Indicator Program (THIP) เป็น  ไปใช้ว่าข้อมูลครอบคลุมหรือไม่หรืออาจจะต้องเก็บข้อมูลของแต่ละพื้นที่โดยตรง
          ระบบการเปรียบเทียบตัวชี้วัด  ซึ่งจะได้ข้อมูลที่ชัดเจนมากกว่า
          คุณภาพของโรงพยาบาล HDC
          จะช่วยลดภาระงานผู้ปฎิบัติ
          อย่างไร ซึ่งเป็นตัวชี้วัดเดียวกัน
          เช่น DM HT good control
          Q20: กรณีคัดกรองโรคเบาหวาน   A20: กรณีการคัดกรองจากการที่ไม่อดอาหาร โดยตรวจระดับน�้าตาลโดยวิธีเจาะ
          แบบไม่อดอาหาร มีค่าระดับน�้าตาล ปลายนิ้ว (RCBG) หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคส (RPG) มีค่า ≥ 110 mg/dl
          ในเลือด 120 mg/dl เมื่อตรวจซ�้า สามารถตรวจคัดกรองซ�้าตั้งแต่ 1 วันถัดไป โดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) หรือการ
          ในวันถัดไปแบบอดอาหาร (FCBG)   ตรวจระดับพลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะจากหลอดเลือดด�า (FPG) หากมีค่าระดับ
          มีค่าระดับน�้าตาลในเลือด 100 mg/dl  น�้าตาลในเลือด 100 mg/dl ต้องบันทึกข้อมูลลงแฟ้ม NCDSCREEN ด้วยแต่จะถูกจัด
          จะบันทึกข้อมูลในแฟ้ม NCD   อยู่ในกลุ่มเสี่ยง
          Screen อย่างไร
          Q21: ข้อมูลตัวชี้วัด อัตราป่วยราย A21: เนื่องจากตัวชี้วัดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร ต้องใช้
          ใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสน  ข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์จากกระทรวงมหาดไทยในการประมวลผล ใน
          ประชากร ไม่แสดงผลหน้า HDC  ปีงบประมาณ 2565 จะได้ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ประมาณสิ้นเดือนมีนาคม ส่งผลให้ตัว
          เกิดจากสาเหตุใด         ชี้วัดดังกล่าว ยังไม่สามารถแสดงข้อมูลรายงานในระบบ HDC ได้
          Q22: การส่งออกข้อมูล 43 แฟ้ม  A22: ต้องท�าการเปรียบเทียบข้อมูลรหัสผู้ป่วยแต่ละรายใน LABFU เพื่อเป็นการ
          LABFU จะตรวจสอบความถูกต้อง ตรวจเช็คความถูกต้องของข้อมูล หากตรวจสอบแล้วข้อมูลตรงกันแสดงว่า LABFU
          ได้อย่างไร              มีการส่งออก 43 แฟ้มได้ถูกต้อง โดยเฉพาะข้อมูลเลขบัตรประจ�าตัวประชาชน


          2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง
          Q1: หากท�า HBPM มีความดัน  A1: หากมีความขัดแย้งของผล HBPM กับผลการวัดแบบ office BP (วัดด้วยวิธี
          โลหิต ≥ 130/85 mmHg แต่เมื่อ มาตรฐานทั้ง 2 วิธี) ให้ถือเอาผล HBPM เป็นส�าคัญ และอาจพิจารณาตรวจ
          ติดตามมาวัดความดันโลหิตซ�้าที่  ambulatory blood pressure monitoring; ABPM เพิ่มเติม เนื่องจาก HBPM
          สถานบริการสาธารณสุข พบว่ามี สามารถท�านายการเกิดโรคแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ได้ดีกว่าการ
          ความดันโลหิต < 130/85 mmHg  วัดความดันโลหิตที่สถานพยาบาล (office BP)
          ควรยืนยันวินิจฉัยโรคความดัน    การให้ยาในกรณีดังกล่าว สามารถพูดคุยกับผู้ป่วยได้ เนื่องจากผู้ป่วยใหม่บางคน
          โลหิตสูงเลยหรือไม่ และสามารถ อาจรู้สึกลบกับการได้รับยาในวันนั้น แต่หากตรวจพบว่า ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิด
          พิจารณาให้ยาได้เลยหรือไม่  โรคหัวใจและหลอดเลือดในเกณฑ์ปานกลางถึงสูงและประสงค์ที่จะรับยา ก็สามารถ
                                  เริ่มยาได้เลย







   NCD       40   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57