Page 13 - bticino / synz
P. 13

5                                               6




              โรคกลัวแบบเฉพาะ (Phobia)                                 โรคย ้าคิดย ้าท า
                                                          (Obsessive Compulsive Disorder)
               คือ ความกลัวที่มากเกินไปกับ
          บางสิ่งบางอย่างแบบเจาะจง เช่น                         ความวิ ตกกัง วลที่เกิดจา ก
          กลัวเลือด กลัวที่แคบ กลัวรู กลัวสุนัข           การคิดซ ้าไปซ ้ามา ท าให้เกิดพฤติกรรม
          เป็นต้น แม้ว่าจะรู้สึกกลัวอย่างไม่              ที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์แบบซ ้าๆ
          สมเหตุสมผล แต่ก็ไม่สามารถห้าม                   ก่อให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลใจ
          ความกลัวได้ มักเกิดปฏิกิริยาทางกาย              ส่งผลกระทบต่อการด าเนินชีวิต
          ขึ้นมาหากอยู่ในสถานการณ์จ าเพาะ                 ประจ าวันมาก อาการย ้าคิดย ้าท าแบบ
          เจาะจง เช่น ใจสั่น หน้ามืด มือ-เท้า             นี้กลับพบบ่อยในคนวัยท างาน เช่น
          เย็น อาจท าให้ใจสั่น หายใจล าบาก                คิดว่าลืมล็อคประตูบ้าน ต้องเดิน

          เหงื่อออก                                       กลับไปดูว่าล็อคหรือยัง เป็นต้น








          โรควิตกกังวลรักษาอย่างไร



               สามารถพบจิตแพทย์ เพื่อท าการพู ดคุย ตรวจ สอบถามอาการ  เพื่อแยกว่า
          แท้จริงแล้วอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้น เกิดจากร่างกายหรือจิตใจ หากมาจากจิตใจ
          แพทย์จะท าการพู ดคุย พร้อมใช้เครื่องมือในการประเมินทางจิตใจก่อนวางแผน
          การรักษา ซึ่งการรักษาภาวะวิตกกังวลจะขึ้นอยู่กับแต่ละประเภท

               ปัจจุบันการพบจิตแพทย์ไม่ต่างอะไรกับการหาที่ปรึกษา หาเพื่อนช่วยคิด
          เพียงแต่เพื่อนในที่นี้คือแพทย์ที่มีหลักการรักษา โดยจะพูดคุยให้ค าปรึกษาด้วย

          การรับฟัง แสดงความเห็นใจและให้ค าอธิบาย หรือมีกิจกรรมให้ทดลองท าเป็น
          การบ าบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive  Behavior  Therapy
          หรือ CBT) ดูแล ให้ความส าคัญกับตัวเอง เช่น การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
          ออกก าลังกายอย่างสม ่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ รวมถึงการท าสมาธิ หลีกเลี่ยง
          การดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงบางรายแพทย์อาจท าการรักษาด้วยยา เพื่อลดอาการ
          วิตกกังวล เป็นต้น
   8   9   10   11   12   13   14   15   16