Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 11
ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
กังวลต่อความปลอดภัยจากไฟฟ้าแรงดันสูงทั้งขณะใช้งานและเมื่อ และส�าหรับไฟฟ้าแรงดันสูงจะเป็นส่วนส�าคัญในระบบขับเคลื่อน
เกิดอุบัติเหตุ ผู้ใช้และผู้ประสบเหตุจะมีความปลอดภัยหรือไม่ และ เริ่มตั้งแต่ช่องเสียบชาร์จ (Charging socket) ไปจนถึงมอเตอร์ที่
ควรปฏิบัติอย่างไร ดังนั้น ในบทความนี้จึงเป็นการกล่าวถึงมาตรฐาน ใช้ขับเคลื่อน (รูปที่ 1) อย่างไรก็ดี ระบบไฟฟ้าทั้งสองส่วนนี้จะแยก
อุปกรณ์และมาตรฐานความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ไฟฟ้า จากกันโดยเด็ดขาด โดยระบบไฟฟ้าแรงดันต�่า (Low-voltage) จะ
เพื่อเป็นข้อมูลต่อทั้งผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าและผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถต่อลงกราวด์ (ขั้วลบ) กับตัวถังของยานยนต์นั้นได้ แต่ระบบ
ไฟฟ้าแรงดันสูง (High-voltage) จะไม่มีการต่อลงกราวด์กับตัวถัง
ของยานยนต์นั้นโดยเด็ดขาด แต่กระแสไฟฟ้าจะถูกต่อให้ครบวงจร
2. ระบบไฟฟ้าในยานยนต์ไฟฟ้า กับ High-voltage battery pack เท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน
UNECE R100 เช่นนี้ ผู้ขับขี่และผู้โดยสารจึงไม่ถูกไฟฟ้าแรงดันสูง
ความแตกต่างของยานยนต์ประเภท EV กับ ICE คือระบบต้น กระท�าอันตราย และการแยกจากกันในระบบไฟฟ้าแรงสูงนี้ ฉนวน
ก�าลังและส่งก�าลังเกือบทั้งหมดที่เปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้า
แทบทั้งสิ้น และครอบไว้ด้วยตัวรถ (Car body) ที่เป็น Design ของ
แต่ละผู้ผลิตซึ่งไม่ใช่สิ่งที่สามารถบ่งบอกความแตกต่างกันได้อย่าง
ชัดเจนว่าเป็นยานยนต์ประเภท EV หรือ ICE
ระบบไฟฟ้าของยานยนต์ไฟฟ้าโดยทั่วไปจะถูกแบ่งออกเป็นสอง
ระดับแรงดัน คือ Low-voltage (12V-24V) และ High-voltage จะ
มีแรงดันไฟฟ้าอยู่ในช่วง 100 - 200V ส�าหรับยานยนต์ไฮบริดหรือ
ปลั๊กอินไฮบริด (HEV and PHEV) และแรงดันไฟฟ้าระดับ 400 - 800V
ส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV) [4] ส�าหรับส่วนที่ใช้ไฟฟ้าแรง
ดันต�่าได้แก่ระบบไฟฟ้าตัวถัง ไฟส่องสว่าง ไฟสัญญาณ และสิ่งอ�านวย
ความสะดวกต่าง ๆ ภายในรถ เช่น วิทยุ กระจกหน้าต่าง เป็นต้น รูปที่ 2 การแยกจากกัน (Isolation) ของระบบไฟฟ้าแรงดันสูงกับ
โครงสร้างและตัวถังของยานยนต์ [6]
รูปที่ 1 อุปกรณ์ในส่วนของระบบไฟฟ้าแรงดันสูง (High-Voltage components) [5]
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 11