Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 12
ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
กระแสไฟฟ้าที่ส่งระหว่างแบตเตอรี่ถึงอินเวอเตอร์ จะเป็น
การส่งไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่ ในส่วนนี้จะต้องมีความ
เป็นฉนวนเทียบกับโครงรถไม่น้อยกว่า 100 โอห์มต่อความ
ต่างศักย์ใช้งาน เช่น มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าใช้ความต่างศักย์ 72 โวล์ท
ดังนั้นความเป็นฉนวนควรมากกว่า 7,200 โอห์ม
กระแสไฟฟ้าที่ส่งระหว่างอินเวอเตอร์ถึงมอเตอร์ อินเวอเตอร์
จะท�าหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่ เป็นไฟฟ้า
กระแสสลับหรือพัลส์ส�าหรับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ชนิด
แม่เหล็กถาวร (Permanent Magnet AC Motor, PMAC) และ
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบไร้แปลงถ่าน (Brushless DC Motor)
ตามล�าดับ UNECE R100 มีการก�าหนดค่าความเป็นฉนวน
รูปที่ 3 สายตัวน�ากระแสไฟฟ้าแรงดันสูง (สีส้ม) เทียบกับโครงรถแตกต่างกัน ส�าหรับการใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ
ต้องมีค่าความเป็นฉนวนมากกว่า 500 โอห์มต่อความต่างศักย์
ทางไฟฟ้าที่ใช้ป้องกันกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงมีความส�าคัญเป็น ใช้งาน และการใช้ไฟฟ้ากระแสตรงต้องมีค่าความเป็นฉนวน
อย่างยิ่งต่อความปลอดภัยนี้ จุดสังเกตส�าหรับสายตัวน�าในระบบ มากกว่า 100 โอห์มต่อความต่างศักย์ใช้งาน เช่น มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า
ไฟฟ้าแรงสูงจะมีฉนวนหุ้มสีส้มเป็นมาตรฐานส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้า ใช้ความต่างศักย์ 72 โวลท์ ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ จะต้องมี
(รูปที่ 3) ความเป็นฉนวนควรมากกว่า 36,000 โอห์ม เป็นต้น
3. มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย ปัจจุบัน
ได้มีการศึกษาแนวทางและอ้างอิงกับมาตรฐานสากล เช่น Federal
Motor Vehicle Safety Standards (FMVSS) และ United
Nations Economic Commission for Europe (UNECE) เป็นต้น
และมีข้อก�าหนดด้านความปลอดภัยต่าง ๆ ของยานยนต์ไฟฟ้า โดย
เฉพาะระบบไฟฟ้าแรงดันสูง (High-voltage system) เช่น
3.1 มาตรฐานความปลอดภัยของการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า
เนื่องจากยานยนต์ไฟฟ้า จะใช้ไฟฟ้าในการขับเคลื่อนและ
เมื่อความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงขึ้น จะสามารถท�าให้เกิดอันตรายต่อ
ผู้ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนนได้ โดยตามมาตรฐาน UNECE R100 ได้
ให้ค�านิยามของความต่างศักย์สูง คือ ความต่างศักย์สูงกว่า 60
และต�่ากว่า 1,500 โวลท์ ส�าหรับไฟฟ้ากระแสตรง และความ
ต่างศักย์สูงกว่า 30 และต�่ากว่า 1,000 โวลท์ ส�าหรับไฟฟ้ากระแส
สลับ (RMS) โดยในการตรวจสอบการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า
ในยานยนต์ไฟฟ้า จะแบ่งการวัดความเป็นฉนวนเทียบกับโครงรถ
ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนต่อเชื่อมระหว่างแบตเตอรี่ ไปถึง
อินเวอเตอร์ และส่วนต่อเชื่อมระหว่างอินเวอเตอร์ถึงมอเตอร์
12 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565