Page 13 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 13

ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
                                                                            ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้

              3.2 มาตรฐานความปลอดภัยของระบบกักเก็บพลังงาน           ภายนอกของห้องโดยสารได้ไม่เกิน 5 ลิตร แต่จะไม่มีการรั่วไหล
                   ตัวอย่างมาตรฐานความปลอดภัยของระบบกักเก็บพลังงาน  เข้าสู่ห้องโดยสาร ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญที่จะเป็นอันตรายต่อผู้ขับขี่
               ของประเทศสหรัฐอเมริกา ตามข้อก�าหนด FMVSS 305 [7]     และผู้โดยสาร รวมทั้งหลังการทดสอบจะต้องมีความเป็นฉนวน
               จะเป็นข้อก�าหนดด้านสมรรถนะของอุปกรณ์กักเก็บพลังงาน   ระหว่างขั้วของแบตเตอรี่กับโครงสร้างของยานยนต์ ไม่น้อยกว่า
               ระหว่างการชน (Crashworthiness) ของยานยนต์ส่วนบุคคล   500 โอห์มต่อโวลท์ใช้งาน ในส่วนต่อเชื่อมระหว่างอินเวอร์เตอร์

               ประเภทรถบรรทุก รถโดยสารและรถยนต์อเนกประสงค์ ที่มี    ถึงมอเตอร์ เช่น ยานยนต์ไฟฟ้าขับเคลื่อนด้วยความต่างศักย์
               น�้าหนักรวมน้อยกว่า 4,536 กิโลกรัม กล่าวถึงการรั่วไหลของ   400 โวลท์ จะต้องมีความเป็นฉนวน 200,000 โอห์ม เป็นต้น
               สารอิเล็กโทรไลต์ภายในแบตเตอรี่ที่ใช้ในการขับเคลื่อน และ
               การป้องกันการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้าแรงดันสูง
               ในยานยนต์ไฟฟ้า (มีความต่างศักย์สูงกว่า 48 โวลท์) ในการทดสอบ     4. การตัดวงจรไฟฟ้าแรงดันสูงก่อน
               จะทดสอบกับยานยนต์ไฟฟ้าใหม่ ร่วมกับมาตรฐานการชน         การกู้ภัยหรือการซ่อมบ�ารุง

               ตามข้อก�าหนด FMVSS 208 และ FMVSS 214 (การทดสอบ
               การชนด้านข้าง) หรือ FMVSS 301 (การทดสอบการชนด้านหน้า    ในปัจจุบันประเทศไทย เป็นหนึ่งในประเทศที่เกิดอุบัติเหตุบน
               หรือหลัง) โดยหลังการทดสอบ 30 นาที จะต้องไม่มีการเสียหาย  ถนนเป็นระดับต้นๆ ของโลก ดังนั้นเมื่อมีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า
               ทางกายภาพของแบตเตอรี่ กล่องบรรจุแบตเตอรี่ (Battery  ในประเทศไทยมากขึ้น การกู้ภัยและการช่วยเหลือผู้ขับขี่เมื่อเกิด
               Accumulator) จะต้องไม่ทิ่มแทงเข้าห้องโดยสาร และสาร  อุบัติเหตุหนัก ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ของยานยนต์ไฟฟ้านั้นจะมี

               อิเล็กโทรไลต์ภายในเซลแบตเตอรี่ จะสามารถรั่วไหลออกมา  Manual Service Disconnect (MSD) หรือ ปลั๊กบริการ (Service













































                  รูปที่ 4 การทดสอบการชนเพื่อประเมินการป้องกันความเสียหายต่อระบบกักเก็บพลังงาน (Battery) และการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์ [8]



                                                                                    ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565  วิศวกรรมสาร 13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18