Page 15 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 15
ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
รูปที่ 7 ข้อแนะน�าการเคลื่อนย้ายหรือการลากจูงยานยนต์ไฟฟ้านิสสัน [10]
รูปที่ 6 การทดสอบความทนทานต่อน�้าของรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ [9]
รูปที่ 6 การทดสอบความทนทานต่อน�้าของ
รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ [9]
สิ่งที่ส�าคัญอีกประการคือ เมื่อเกิด
อุบัติเหตุขึ้นกับยานยนต์ไฟฟ้า การประสบ
เหตุฉุกเฉินและการกู้ภัยจะต้องกระท�าโดย รูปที่ 8 ข้อแนะน�าการเคลื่อนย้ายหรือการลากจูงยานยนต์ไฟฟ้าเทสล่า โมเดล 3 [11]
ระมัดระวัง และเป็นไปในขั้นตอนที่ถูกต้อง
เนื่องจากในยานยนต์ไฟฟ้านั้นมีอุปกรณ์
กักเก็บพลังงานไฟฟ้าแรงดันสูง
ผศ.ดร.ดนัย เผ่าหฤหรรษ์(High-
Voltage Battery) ซึ่งมีความอันตรายจาก
กระแสไฟฟ้าที่อาจรั่วไหล หรืออาจเกิดการ
การศึกษา
ระเบิดและลุกไหม้ขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก
ปริญญาตรี
แบตเตอรี่บางชนิดสามารถติดไฟได้
วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล)
ในการเข้าช่วยเหลือกรณีพบยานยนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ไฟฟ้าประสบอุบัติเหตุ
ธนบุรีไม่ว่าจะเป็นบุคคล
ทั่วไปหรือนักกู้ภัย จะแน่ใจได้อย่างไรว่าจะ
ปริญญาโท
ปลอดภัยจากไฟฟ้าแรงดันสูงรั่วไหล ก่อนอื่น
M.Eng. (Electrical Engineering) Shi-
ต้องทราบวิธีการตัดวงจรไฟฟ้าแรงดันสูง
baura Institute of
ของยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งก็มีความแตกต่าง
Technology, Japan
กันไปแล้วแต่แบรนด์ของยานยนต์นั้น
ปริญญาเอก
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้า เทสล่า รูปที่ 9 เทสล่า โมเดล 3 ไฟไหม้ทั้งคัน เนื่องมาจากเกิดอุบัติเหตุเสียหลักชนเข้ากับเสาไฟฟ้าแรงสูง [12]
D.Eng. (Control Engineering) Shibau-
โมเดล 3 จะมีต�าแหน่งการตัดวงจรแสดง
ra Institute of
ดังรูปที่ 10 เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินและจ�าเป็น
Technology, Japan
ต�าแหน่งปัจจุบัน ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 1515
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร
อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์
เครื่องกล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี