Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 19
โบราณ
นายสถาพร โภคา กับงานวิศวกรรม
ตอนที่ ๗
เก่าจะไป ใหม่จะมา
หาเวลา ไปรู้จัก
โบราณกับงานวิศวกรรมไทยตอนนี้ เล่าเรื่อง
โอกาสที่วิศวกรจะได้เรียนรู้อดีต มากกว่าค�าบอกเล่า
โดยมุ่งแสดงให้เห็นว่า เราอาจเรียนรู้สิ่งเดียวกัน แต่
ย่อมรู้ไม่เท่าทันกัน หรือผลลัพธ์แตกต่างกัน อาชีพ
หรืองานวิชาชีพของแต่ละคน อาจแตกต่างกัน แต่ละคน
ย่อมได้เรียนรู้แตกต่างกัน มีระบบจัดการความรู้เฉพาะ
ของตนเอง เพื่อจะใช้แก้ปัญหาใหม่ในการท�างาน ที่แตก
ต่างไปจากปัญหาเดิม และแตกต่างจากปัญหาของผู้
อื่น ผู้เรียนวิศวกรรมศาสตร์ ควรเรียนรู้ทฤษฎี และ
ทักษะพื้นฐานทันทีที่เริ่มเรียน เมื่อเริ่มประกอบวิชาชีพ เป็นความทรงจ�า หรือบันทึก ส่วนวิทยาการคอมพิวเตอร์ เมื่อโลก
ก็ต้องเริ่มเรียนรู้ทักษะท�างาน และสั่งสมประสบการณ์ รู้จัก และมีคอมพิวเตอร์ ก็เริ่มคิดต่อไปว่า ท�าอย่างไร คอมพิวเตอร์
ทันทีที่เริ่มงาน การเรียนรู้ย่อมไม่รู้จบ ต้องเรียนรู้ จึงจะสามารถท�างานได้มากกว่าเป็นเครื่องค�านวณพื้นฐาน คูณ หาร
ตลอดทุกลมหายใจ หรือตลอดชีวิต บวก ลบ ต้องป้อนข้อมูล หรือสั่งงานโดยมนุษย์ วันหนึ่ง คอมพิวเตอร์
สามารถสร้าง (Generate) ตัวเลขสุ่ม (Random number) ได้
เกิดเกมคอมพิวเตอร์ในยุคแรกที่คอมพิวเตอร์สามารถแข่งหมากรุก
มนุษย์สร้างคอมพิวเตอร์ วิธีเรียนรู้ กับมนุษย์ ท�าในสิ่งที่ไม่อาจคาดหมาย และสามารถเอาชนะแชมป์
หรือความเฉลียวฉลาดย่อมคล้ายกัน หมากรุกระดับโลกได้ จึงเป็นแรงกระตุ้นการพัฒนาขีดความสามารถ
ของคอมพิวเตอร์ มีค�าศัพท์แปลกใหม่ อาทิ การเรียนรู้ หรือการ
อดีต การสื่อสาร และเทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ยังไม่ก้าวหน้า สอน (Learning or training) การแสวงหา และจัดการความรู้ หรือ
เช่นปัจจุบัน โดยเฉพาะ กล้องถ่ายรูป โทรศัพท์ หรือคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมความรู้ (Knowledge acquisition & management
วิศวกรในอดีต จึงต้องมีใจใฝ่รู้ แสวงหาสิ่งที่อยากรู้ อยากเห็น เก็บ & knowledge engineering) การแก้ปัญหา หรือตอบค�าถาม
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 19