Page 20 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 20
ตอนที่ ๗ เก่าจะไป ใหม่จะมา หาเวลา ไปรู้จัก
ที่ไม่เคยเรียนรู้ หรือรู้มาก่อน อย่างมีเหตุผล หรือเป็นเหตุเป็นผล งานวิศวกรรมที่ได้จากการ “เรียนให้รู้ ดูให้เห็น” ของวิศวกร
(Generating & reasoning) และโลกฝันถึงปัญญาประดิษฐ์ หรือ แต่ละคน ย่อมถูกจัดการอย่างเป็นระบบ ด้วยความทรงจ�า บันทึก
อัจฉริยะเทียม (Artificial Intelligence – AI) ซึ่งต้องมีกระบวน หรือกระบวนอื่น ๆ ตามระบบ หรือแบบแผนที่แต่ละคนเห็นว่าจะ
หาความรู้ (Knowledge acquisition) ประกอบด้วย แสวงหา เป็นประโยชน์แก่งานอาชีพ สามารถใช้แก้ปัญหาใหม่ ๆ ซึ่งคล้ายคลึง
ตัวอย่าง หรือข้อมูล (Data or sample) ไปสังเคราะห์เป็นความรู้ กับศาสตร์การแพทย์ ที่ศึกษาเรียนรู้จากกรณี (Case) ที่หลากหลาย
โดยมีกระบวนเรียนรู้ หรือการสอน การทดสอบความสมเหตุสมผล แล้วใช้ประกอบการวินิจฉัย หรือรักษาคนไข้รายใหม่ ตัวอย่าง Case -
(Learning or training and testing for validation) ข้อมูล อาจได้ Base Engineering เช่น วิศวกรรายหนึ่ง ได้ท�างานมาหลายปี
จากการสุ่มเก็บตัวอย่าง หรือเก็บตรงจากสภาพจริง (เช่น การใช้ ออกแบบสะพานมากพอสมควร สะพาน {A, B, C, D, … } ได้ชื่อว่า
Staingauge หรือ Data logger ตรวจจับพฤติกรรมภายใต้การ มีประสบการณ์ หากจะต้องออกแบบสะพานตัวใหม่ ซึ่งมีช่วงยาว
รับน�้าหนัก หรือแรงของโครงสร้าง ใช้กล้องตรวจวัดความเร็ว หรือ 50 เมตร อยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ฯลฯ เมื่อส�ารวจภูมิประเทศ
เส้นทางเคลื่อนที่ของพาหนะ) ข้อมูลที่ได้จ�าต้องถูกจัดการในรูปแบบ กอปรกับวัตถุประสงค์งานออกแบบแล้ว วิศวกรผู้นี้ อาจเทียบเคียง
ที่ต้องการ หรือเป็นฐานข้อมูล เพื่อสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ อาทิ โครงสร้างส่วนบนของสะพานที่จะออกแบบกับสะพาน A (เพราะ
ค�านวณสถิติ หาแนวโน้ม ใช้หลักคิด หรือหลักคณิตศาสตร์การเรียนรู้ มีช่วงใกล้เคียงกัน) เพื่อเลือกรูปแบบ และรูปหน้าตัดคานสะพาน
(Learning algorithm) เพื่อสอน และทดสอบความน่าเชื่อถือ (Girder) แต่อาจเลือกรูปแบบโครงสร้างส่วนล่าง (คานขวาง ตอม่อ)
ของระบบจนถึงขั้นตอนน�าไปใช้แก้ปัญหา และบ�ารุงรักษาระบบให้ โดยเทียบเคียงกับสะพาน C (เพราะจะต้องใช้ตอม่อเดี่ยว เช่นกัน)
ทันสมัยเสมอ (Application & updating or maintening) อาจเลือกรูปแบบเสาเข็ม และฐานรากโดย โดยเทียบเคียงกับสะพาน
พัฒนาการความฉลาดของคอมพิวเตอร์ในขั้นตอนแรก จึงเริ่มต้น D (เพราะสภาพดิน หิน คล้ายคลึงกัน สภาพทางน�้า และการกัดเซาะ
จากการจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System - เหมือนกัน ฯ) อาจดูการวิเคราะห์ค�านวณแรงลม และแผ่นดินไหว
DBMS) ซึ่งใช้ประโยชน์อย่างมากในการบริหารจัดการ (เช่น งานบัญชี โดยเทียบเคียงกับสะพาน E (เพราะอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน) ฯลฯ
ซื้อขาย วัสดุคงคลัง - ในระบบปฏิบัติการ Windows ยุคแรก ๆ ก็ปรากฏ ดังนี้ ย่อมน่าเชื่อได้ว่า วิศวกรผู้นี้ จะเลือกรูปแบบสะพานตัวใหม่ได้
MS Access โปรแกรมที่ใช้ท�างานประเภทนี้) AI ขั้นต่อไปต่อไป คือ เหมาะสม มีเหตุมีผล ค�านวณออกแบบอย่างมั่นใจ เชื่อมั่นได้ว่า
การเก็บเอาความรู้ และประสบการณ์ของมนุษย์ผู้มีความเชี่ยวชาญ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ได้โครงสร้างสะพานที่แข็งแรง มั่นคง
เฉพาะด้าน มาแปรเป็นความรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อใช้แก้ปัญหา ปลอดภัย ประหยัด ก่อสร้างง่าย ผู้ก่อสร้างสะพาน อาจเรียนรู้เทคนิค
(Knowledge Base Expert System - KBES ตัวอย่างง่าย ๆ ก่อสร้าง ปัญหาอุปสรรค และวิธีแก้ไขจากสะพานตัวเดิม ๆ ที่ใช้เป็น
เช่น help menu หรือ hyper-text ของโปรแกรมต่าง ๆ) การท�างาน แบบอย่างเช่นกัน ซึ่งน่าจะท�าให้การก่อสร้างสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จ
เลียนแบบเครือข่ายสมองเทียม (Artificial Neural Networks - ตามก�าหนด ได้สะพานที่แข็งแรง มั่นคง ปลอดภัย ฯลฯ
ANNs ใช้กระแสไฟฟ้า แทนเสมือนสารเคมี หรือฮอร์โมน ใช้ฟังชันก์
หรือคณิตศาสตร์เป็นกลไกค�านวณค�าตอบ ก่อนส่งค�าตอบ และ
แสดงผลในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้) การท�างานเลียนแบบยีนส์ หรือ ทันได้เห็น หรือทันได้รู้จักไหม
โครโมโซม (Generic Algirithm - Gas ที่ประชากรต่างพวกจับคู่กัน
หรือไขว้จนได้ค�าตอบที่พึงประสงค์) และกระบวนหาค�าตอบอื่น ๆ ท่านอาจเกิดทันยุคร่วมสมัยกับอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างบางหลัง
อีกมากมาย (อาทิ ประชาคมมด หรือผึ้ง - Ant or Bee Colony หรือหลายหลัง ที่ก�าลังจะถูกรื้อถอน หรือถูกรื้อถอนไปแล้ว แต่วันนั้น
การไต่เขา - Climbing up hill) สุดท้าย มนุษย์คาดหวังคอมพิวเตอร์ มีโอกาสได้เห็น บันทึก หรือจดจ�าอะไรบ้าง ของบางอย่าง เกิดขึ้น
ที่ฉลาดเหมือนมนุษย์ หรือมีความเป็นมนุษย์ (Humanoid โทรศัพท์ มีอยู่ และดับไปเป็นอนิจจัง หากถึงเวลา หรือหมดหนทางจะเยียวยา
พกพา หรืออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายอย่าง มีขีดความสามารถ การรื้อถอนด้วยเหตุผลสมควรก็คงเป็นเรื่องปกติที่ต้องยอมรับ
ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้นทุกที) รับรู้การสั่งการด้วยภาษาธรรมชาติ เมื่อได้มีโอกาสเห็น เราจะได้เรียนรู้ จดจ�า หรือบันทึกอะไร เช่น ได้รู้ว่า
(Natural language processing) ไปประกอบกับพัฒนาการของ เป็นอาคารสูงหลังแรก ๆ ในกรุงเทพ หรือเมืองไทย เป็นอาคารที่
กลไลเครื่องจักรกลไฟฟ้า จนกลายเป็นหุ่นยนต์ (Robotic) ออกแบบโดยสถาปนิกต่างชาติออกแบบ เสมือนจ�าลองหอเก๋งญี่ปุ่น
20 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565