Page 25 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 25
ตอนที่ ๗ เก่าจะไป ใหม่จะมา หาเวลา ไปรู้จัก
ข. ให้อยู่แบบธรรมชาติ หรือเลี้ยงอย่างเป็นระบบ (กิ้งก่า จิ้งเหลน กระรอก และนก)
ค. ป้องกันนก หนู ค้างคาว หรือสัตว์อื่นโดยมีตะแกรงป้องกันที่ช่องลม หรือฝ้าเพดาน
รูปที่ ๕ อาคารกับการจัดการสัตว์บางประเภทในอดีตถึงปัจุบัน
แม้อาคารคอนกรีตปัจจุบัน (กรองแสง ปรับสี หรือใช้ม่านประกอบ) แต่ต้องไม่ลืมว่า กระจก
ก็เปลี่ยนแปลงไป ก็ท�าความสะอาดภายนอกยากไม่น้อย ทิ้งท้ายด้วยค�าถามว่า หากสมัยนิยม
หันกลับไปใช้ครีบ หรือแผง วิศวกรปัจจุบันคิดจะเสนออะไรเป็นทางเลือก ?
บางคนกล่าวว่า อาคารโบราณ แต่งองค์ทรงเครื่องมากไป คงจะ
หมายถึงครีบ แผงตั้ง แผงนอน (Fin & Louver) ดูแล้วเกะกะ น่าจะ
ค�านวณยาก ก่อสร้างล�าบาก และดูแลรักษายาก แท้จริงแล้ว อดีตรถไฟ จะจากไปแล้ว
อาจค�านวณไม่ยาก เพียงแต่ต้องคิดหาวิธี ที่จะให้ครีบ หรือแผง
ยึดเกาะ และถ่ายน�้าหนักลงโครงสร้างหลักได้ ต้องประมาณน�้าหนัก รถไฟค่อยจากเราไปนานแล้ว ตั้งแต่หัวลากไอน�้า หมอนไม้ สถานี
(เพราะอาจถือว่าครีบ หรือแผง เป็นน�้าหนักคงที่ส่วนเพิ่ม - Super และสิ่งปลูกสร้างเก่าแก่ วันนี้ รถไฟก�าลังจะจากไปจริง ๆ แบบแทบ
Imposed Deadload) ผลคือ อาจท�าให้โครงสร้างต้องสิ้นเปลือง พลิกโฉม สิ่งใดยังอยู่ มีโอกาสควรรีบไปดู แม้ไม่เรียนรู้อะไร ก็คิดว่า
ขึ้น) ในเรื่องอนุรักษ์พลังงาน ครีบ หรือแผง ช่วยจัดการแสง และลม ไปเที่ยวเตร่ บันทึกภาพสวย และความทรงจ�า เพราะรถไฟ มีทั้ง
(หรือการระบายอากาศ) ให้เป็นไปตามต้องการ ช่วยป้องกันฝนสาด เรื่องราวการถ่ายทอดงานวิศวกรรมจากยุโรป มีผลงานนายช่างไทย
พบเห็นได้ทั้งอาคารบ้านเรือน อาคารพาณิชย์ และอาคารสาธารณะ รับใช้คนไทยหมู่มาก (หรือเรียกว่า มวลชน - Mass) มายาวนาน
(รูปที่ ๖) บางอาคาร ครีบ หรือแผงตั้ง ป้องกันนกเกาะ หรือสร้างความ ผ่านวิกฤติสงครามโลกมาจนได้ โดยทิ้งสิ่งปลูกสร้างทั้งหลายเป็น
สกปรกได้อย่างสมเจตนา หรือโดยบังเอิญ (รูปที่ ๗) หลายอาคาร อนุสรณ์สติ ตั้งแต่อุโมงค์ ที่สะท้อนการเปลี่ยนผ่านยุค เปลี่ยนผ่าน
ครีบ หรือแผง ทั้งแนวนอนแนวตั้งสวยงามเป็นอัตลักษณ์ของอาคาร เทคโนโลยี (รูปที่ ๙ ก.) ทั้งอาคารไม้ หรือคอนกรีต รูปแบบน่าสนใจว่า
หรือสถาปนิกผู้ออกแบบ (รูปที่ ๘) เหล่านี้ ล้วนเป็นกรณีศึกษาที่มี คิด และออกแบบอย่างไร จึงสามารถใช้งานมาได้นานนับร้อยปี
คุณค่าเสมอ ปัจจุบันห่างหายไป เพราะอาคาร โดยเฉพาะอาคารสูง เป็นเรื่องความยั่งยืน (Sustainability) เพราะใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ เน้นใช้ Cladding และกระจก เก็บทรัพยากรให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้ (รูปที่ ๙ ข.) หอถังสูงเหล็ก ใช้บรรจุน�้ามัน
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 25