Page 27 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 27

ตอนที่ ๗ เก่าจะไป ใหม่จะมา หาเวลา ไปรู้จัก


                                               แม้บางแห่งยุติการใช้งานแล้ว แต่ก็เป็นตัวอย่างโครงสร้างเหล็กที่สวยงาม มีรายละเอียด
                                               ปลีกย่อยแตกต่างกัน (รูปที่ ๙ ค.) เช่นเดียวกับงานวิศวกรรมปฐพี โครงสร้างไม้ ป้องกันแรงดัน
                                               ด้านข้างของดิน สภาพยังดี ใช้งานได้ปกติ ใช้เพียง Rail - Openning ใช้ระบายในพื้นที่รับน�้าเล็ก ๆ
                                               ที่มีปริมาณน�้าท่าไม่มาก แทนอาคารระบายน�้าแบบอื่น (เช่น ท่อเหลี่ยม หรือสะพาน ยกเว้น
                                               ท่อลอด ไม่เหมาะใช้กับทางรถไฟซึ่งมีน�้าหนักกดทางดิ่ง ค่อนข้างมาก เสียหายได้ง่าย)
                                               หลังคาเพิงแหงน และหลังคาปีกผีเสื้อ (ไม้ เหล็ก หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก) เหมาะสม

                                               ใช้กับชานชาลาสถานี (เปิดโล่ง คุ้มแดดได้ อากาศถ่ายเทสะดวก ทัศวิสัยดี ผู้โดยสารเห็น
                                               ขบวนรถได้แต่ไกล ไม่ระบายน�้าฝนลงด้านขบวนรถ และโครงสร้างประหยัด) ย่อมเป็น
                                               กรณีตัวอย่างงานออกแบบที่ต้องค�านึงหลายปัจจัย (รูปที่ ๙ ง.) สะพานรถไฟที่เป็นอัตลักษณ์
                                               และเป็นกรณีศึกษาส�าหรับงานออกแบบสะพานปัจจุบัน และอนาคต อาทิ หากเป็นสะพาน
                                               แบบแบบหอสูง ต้องนึกถึง สะพานสองหอ สะพานสามหอ สะพานห้าหอ ที่ปางยางเหนือ
                                               ปางยางใต้ และปางแงะ (แม้ปัจจุบันจะก่อสร้างใหม่แล้ว) สะพานแบบ Deck Truss ที่ชัยภูมิ
                                               สะพาน Deck Sag Truss (แบบท้องปลา) ต้องนึกถึงสะพานที่สถานีปางต้นผึ้ง อุตรดิตถ์ (รูปที่ ๙ จ.)




                                                   สงคราม และสันติภาพ



                                                 ประวัติศาสตร์โลกมีประจักษ์หลักฐานให้ยอมรับว่า สงครามกระตุ้น หรือผลักดันให้งาน
                                               วิศวกรรมพัฒนา แม้จะมีวัตถุประสงค์เพื่อเอาชนะสงครามเป็นหลัก อาทิ อากาศยานไอพ่น
                                               (Jet engine) โดย Hans - Joachim Pabst von Ohain (1911 - 1998) หรือ Sir Frank
                                               Whittle (1907 - 1996) และจากก�าเนิดของคอมพิวเตอร์ในยุคแรกเริ่ม โดย Charles

                             รูปที่ ๘  ครีบ หรือแผง   Babbage (1791 - 1871) จนถึงยุคเครื่องถอดรหัส Enigma โดย Alan Touring (1912 - 1954)
                         ที่แสดงอัตลักษณ์ของอาคาร  ในประเทศไทย ก็มีผลงานวิศวกรรมในห้วงสงครามโลกอยู่ไม่น้อย อาทิ สะพานรถไฟ
                            หรืองานของผู้ออกแบบ   ที่ทาชมพู ล�าพูน (พ.ศ. ๒๔๖๒) แทนที่จะเป็นสะพานเหล็กดังเช่นนิยมในยุคนั้น แต่เพราะ
                             (อนุเคราะห์โดย ศรัณย์   ห้วงวิกฤติโลกจะเข้าสู่สงคราม ไม่สามารถจะจัดหาเหล็กได้ เพราะถือเป็นปัจจัยส�าคัญ
                       ประมูลพงศ์ ชาญณรงค์ ใจแสน   (หากสั่งซื้อเหล็กจากต่างประเทศ อาจถูกยึดไปแปรเปลี่ยนเป็นอาวุธยุทโธปกรณ์) วิศวกรไทย
                             และพีระพล ศรีกุลวงศ์)
                                               (กรมพระก�าแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งการรถไฟ) ออกแบบเป็นสะพานคอนกรีต
                                               Vierendeel Arch แม้จะถูกปรามาสว่า จะรับน�้าหนักรถไฟไม่ได้ และพังทลายเป็นแน่แท้
                                               โดยในเวลาไล่เลี่ยกันมีการก่อสร้างสะพานรัษฎาภิเษก ที่ล�าปาง เป็นสะพานคอนกรีตแบบ
                                               Veirendeel Arch เช่นกันให้ยวดยานพาหนะบนท้องถนนวิ่ง สะพานทั้งสองแห่ง ยังใช้งานได้ดี

















                         ก. อุโมงค์ขุนตาน ร่อนพิบูลย์ และคลองขนานจิตร สร้างต่างยุค เทคโนโลยีย่อมเปลี่ยนไป (อนุเคราะห์โดย อานุภาพ
                                               ศรีเมือง ธีระวิทย์ สุภาทิพย์ และพนมธง จันทะมี)
                                                  รูปที่ ๙ ตัวอย่างบทเรียนอดีตของรถไฟ


                                                                                    ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565  วิศวกรรมสาร 27
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32