Page 32 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 32
การถอดรื้ออุตสาหกรรมสู่ยานยนต์ไฟฟ้า จาก Automobile สู่ truck และ airplane
รูป 2 ตัวอย่างของรถไฟฟ้าที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงปี 1990 ในรูปนี้ได้แก่ GM EV1, Ford Ranger, Honda
EV Plus และ Toyota RAV4 EV https://www.topspeed.com/cars/car-news/nine-early-electric-
cars-from-the-1990s-that-we-forgot-about-ar189278.html
ตั้งอยู่ได้ไม่นาน แล้วก็ลดลงอย่างมากไปในราวปี ค.ศ. 2000 ทั้งนี้ก็ด้วยการพัฒนาอีวี การเข้าใจความต้องการของผู้บริโภค
ในช่วงนี้ยังคงพึ่งแบตเตอรี่ตะกั่วกรดที่กว่าร้อยปีที่ผ่านมาก็ไม่ได้มีการพัฒนาไปมากมาย ในยุคดิจิทัล และการกล้าลองผิดลองถูก
เท่าไร และในช่วงนี้ แม้แต่ Nissan leaf ที่หลายคนถือว่าเป็นคันแรกของอีวี (fail fast and fail forward) กล่าวคือ
ยุคใหม่ และเป็นหัวหอกในความพยายามผลักดันการเปิดตลาดอีวี ก็ไม่ได้สามารถ แต่ละรุ่นของเทสล่าจะมาพร้อม feature
จุดประกายการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างสังคมและธุรกิจได้จริง เด็ดล�้าสมัย เช่นรถสามารถอัพเดทตัวเอง
แล้วจากวันนั้นมาถึงวันนี้ที่มีทั้งการตอบรับจากผู้บริโภคและการประกาศแผนการ ได้ผ่านระบบ OTA เหมือนมือถือ หรือการ
ผลิตอีวีไปในระยะยาวจากผู้ผลิตอย่างจริงจัง ถ้าจะเชื่อว่ายุคใหม่ของอีวีได้เกิดขึ้นแล้ว ผนวกรวม feature ขับขี่อัตโนมัติเข้ามา
จริงจังและจะไปได้อย่างยั่งยืน แล้วเราจะถอดรหัสอะไรจากการเดินทางที่ผ่านมาของ ในตัวรถแต่แรก ซึ่งท�าให้ผู้บริโภคเชื่อมต่อ
เทคโนโลยีอีวีได้บ้าง ภาพความคิดยานยนต์ของเทสล่าเข้ากับ
ถ้ามองกลับไปแล้ว จากช่วงหลังปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา จะเห็นว่าบริษัทผู้ผลิต ยานยนต์ล�้าสมัย ถ้าจะเทียบก็เหมือน
แต่ดั้งเดิมที่เข้ามาพัฒนาอีวีต่างพยายามออกรถในช่วงราคาที่คนทั่วไปน่าจะเข้าถึงได้ สมาร์ทโฟนที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มาพร้อมกับ
แต่ก็ยังไม่สามารถเปิดตลาดผู้บริโภคได้ในวงกว้าง แต่เมื่อเทสล่า (Tesla) ที่เป็น ยุคดิจิทัล ซึ่งก็จะเห็นได้ชัดว่าผู้บริโภคซื้อ
ผู้ผลิตใหม่เอี่ยมในด้านยานยนต์เข้ามาในตลาดอีวี กลับมาพร้อมโมเดลธุรกิจที่ตีลังกา สมาร์ทโฟนแต่ละรุ่นก็เพื่อ feature เรื่อง
เอารถรุ่นสปอร์ตที่เน้นยอดขายไม่มากนักออกมาก่อน แล้วตามมาด้วยรุ่นหรูระดับเรือธง กล้องดิจิทัล แผนที่ดิจิทัล และเครื่องเล่น
ที่ว่าลักษณะเช่นนี้เป็นการพลิกโมเดลธุรกิจ ก็เพราะบริษัทยานยนต์แต่ดั้งเดิมมัก ไฟล์เพลง
พยายามประกอบข้อได้เปรียบของเทคโนโลยีอีวี โดยในขณะเดียวกันก็ต้องกดสมรรถนะ แต่การจะออก feature มาตอบให้ตรงใจ
พร้อมไปกับราคาให้ลงมา จนตัวยานยนต์เองก็ท�าไม่ได้ดีทั้งสองทาง ในทางกลับกัน ผู้บริโภคในยุคดิจิทัล ส�าหรับธุรกิจยานยนต์
เทสล่าเชื่อมั่นในเทคโนโลยีอีวีของตนเอง แล้วตั้งราคาไว้สูงพอที่จะดึงดูดข้อได้ ก็ไม่ได้ง่ายขนาดนั้น ยังต้องการอีกลักษณะ
เปรียบของเทคโนโลยีอีวีมาสร้างเสน่ห์ให้กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง และเป็นเสน่ห์ เด่นของดีเอ็นเอแบบดิจิตอลคือการกล้าลอง
ที่ผู้บริโภคยอมจ่าย แม้แต่จะเป็นที่รับรู้กันว่างานประกอบในหลาย ๆ รุ่นของเทสล่า ผิดลองถูก เพราะจริง ๆ แล้ว ลักษณะเด่น
ก็บกพร่องอยู่มาก แต่ถ้าเป็นเช่นนั้น แล้วอะไรอยู่เบื้องหลังความเชื่อมั่นนั้น หนึ่งของอุตสาหกรรมยานยนต์แต่ไหนมาก็
เวลาที่ผ่านมาได้แสดงให้เห็นแล้วว่าสิ่งที่เทสล่าเชื่อมั่น ก็คือดีเอ็นเอแบบดิจิตอล คือความค่อนข้างหัวเก่าและระแวดระวังสูง
ถ้าจะยกตัวอย่างลักษณะเด่นของดีเอ็นเอแบบดิจิตอลสักสองลักษณะ ได้แก่ ดังนั้น feature ใหม่ ๆ ที่เห็นชัดว่าน่าจะตรง
32 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565